ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรวธาร วรสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวบรวมที่ 11) ปี 2563
3. บทสรุป
จากการศึกษาเปรียบเทียบเนื้อเรื่องนรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัย กับคัมภีร์สำคัญพระพุทธศาสนากล่าวต่างๆ แล้ว พบว่า
1. ไตรภูมิ-พระมาลัย พบเนื้อเรื่องการพรรณนาถึงสภาพของนรกและชื่อของนรกมิต่างๆ มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก เทพบุตตก สังจิตชาดก และคัมภีร์โลกีย์ไปกลาร คือ เรื่องการพรรณนาถนิฐานของนรก ตลอดจนชื่อของนรกมิต่างๆ แต่ต่างกันที่รายละเอียดปลีกย่อยโดย ไตรภูมิ-พระมาลัย ไม่ปรากฏนรกมาห-โรรุรนกและมหานรกปนรก ต่างกันพบในนรกนรก 2 ชุม คือ ชาลนรก (นรกดอกบัวเหล็กแดง) และนรกนรก (นรกควัน) ซึ่งน่าจะเป็นนรกขุมย่อยของโรรุรนรกและที่สำคัญนรกทั้ง 2 ชุมมีชื่อเหมือนกันกับโรรุรนรกในคัมภีร์ไตรภูมิฉบับวัตถุของพระยาธรรมปรีชา (แก้)
2. ไตรภูมิ-พระมาลัย พบเนื้อหาเรื่อง มหานรกขุมต่าง ๆ บุกพรรรมและการเสวยทุกขเวทนาของสัตว์นรก (จากตัวอย่าง 3 ชุม) มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับคัมภีร์โลกีย์ไปกลาร คือ การพรรณนาถึงสัญลักษณ์นรก สังจิตนรกและมหาวิจิกนรก ในเรื่องของชื่อนรก ลักษณะเด่นของนรก บุกพรรรมเมื่อครั้งเป็นมนุษย์และทุกขเวทนาของสัตว์นรก แต่ถามังกันที่รายละเอียดปลีกย่อยในบางชุม
3. ไตรภูมิ-พระมาลัย พบเนื้อเรื่อง อุสุนนรก (นรกบ่าว) (ตัวอย่าง 2 ชุม) มีลักษณะของเนื้อหาร่วมกับพระไตรปิฎก สังจิตชาดก เทพบุตตก สังจิตชาดก และคัมภีร์โลกีย์ไปกลาร คือ การพรรณนาถึงคุณนรก (นรกของเน่าเสีย) (เฉพาะสังจิตชาดก) และเทวดานนิทนรก (นรกเม้นทหาราย) ทั้งชื่อรถ ลักษณะเด่นของรถ บุกพรรรมเมื่อเป็นมนุษย์และทุกขเวทนาว...