ข้อความต้นฉบับในหน้า
ที่ปรึกษา
พระครูวิเทศปัญญาภรณ์ (สมบุญ สมมาปุญโญ)
พระมหา ดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ
พระครูสมุห์วิษณุ ปญฺญาทีโป
พระครูธรรมธรอารักษ์ ญาณารักโข
พระครูใบฎีกาอำนวยศักดิ์ มุนิสกฺโก
บรรณาธิการบริหาร
พระสมบัติ รกฺขิตจิตโต
กองบรรณาธิการ
พระดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล, พระตรีเทพ ชินจุกุโร,
พระสนิทวงศ์ วุฑฺฒิวํโส, พระมหาธีระ นาถธมฺโม,
พระมหาจตุรงค์ จตฺตมโล, พระมหาเอก จนฺทูปโม
พระธนรินทร์ สิริธโร, พระวรัช คุณงฺกโร
พระสิปปภาส พฺรหฺมสโร, พระบริบูรณ์ ธมฺมวิชโช
ผศ.สุภาศิริ พะหูชนม์, วรวรรณ ถนอมพงษ์,
วันชัย ภัทรโกมล, วินิช พันธุ์วิริยรัตน์,
สุธิดา จินดากิจนุกูล, รัดเกล้า ลิ่วเฉลิมวงศ์,
น้ำผึ้ง พุ่มมาลี, ระพีพรรณ ใจภักดี, เมธินี จอกทอง,
อรพรรณ วีระกูล, รัตนพล ธนเสฐภักดี,
กําพล แก้วประเสริฐกุล, บุษบา ธาราสมบัติ
กนกพร เทศนา, พรชนก คู่รัตนา, จันทร์จิรา มีเดช,
รัตนา อรัมสัจจากูล, ประวีร์ ธรรมรักษ์,
ผ่องศรี ทานาแชง, เทวี สุขศิริ
บรรณาธิการสารสนเทศ
วรรณภา พลกลาง
ฝ่ายภาพ
ศูนย์ภาพนิ่งและบรรณาธิการภาพ
ฝ่ายศิลปกรรม
กองพุทธศิลป์, ล็อพงศ์ ลีลพนัง,
วัลลภ นิลถนอม, ชัยชนะ กิตติโสภาพันธุ์,
ภัทรา ศรีวสุธา, ศุภวิชฐ์ เหล่าเลิศพงษ์,
สุพัตรา ปัญญาแสง, พีระ แสงงาม,
สิริพันธุ์ สมาหารพันธุ์, สุภชา ศรีโสภิต
ฝ่ายโฆษณา
ปราณี ชัยผดุง ๐๘-๖๗๗๑-๒๒๖๘
ตฤณพรรษ ตำนานวัน, สุพัตรา แก่นจันทร์
ฝ่ายสมาชิก
อรุณี พลกลาง ๐๘-๑๓๐๖-๕๓๙๓
โรงพิมพ์
บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกัด
จัดทําโดย
มูลนิธิธรรมกาย
วารสาร “อยู่ในบุญ”
เป็นวารสารเพื่อการเผยแผ่ธรรมะ
ในพระพุทธศาสนาเป็นรายเดือน
มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
๑.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน
ธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
และเกิดกำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพื่อเข้า
ถึงธรรมะภายใน
๒.เพื่อปลูกฝังคุณธรรมแก่ประชาชนทุก
เพศ ทุกวัย ทุกอาชีพและทุกระดับการศึกษา
๓.เพื่อถ่ายทอดความรู้ในพระพุทธ
ศาสนา ให้ง่ายแก่การนำาไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน
๔.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คนใน
สังคมเป็นคนดีที่โลกต้องการ
๕.เพื่อเป็นสื่อกลางในการสืบทอดอายุ
พระพุทธศาสนาให้เป็นที่พึ่งแก่ชาวโลกสืบไป
บทฝึก..ในการกำจัดกิเลส
บทฝึกตนในการกำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนา มี ๒ แบบ คือ
๑. แบบสัลเลขะ คือ กำจัดแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น โลภ ก็ให้ฝึก
ทำทาน หรือเห็นแก่กิน ก็ให้ฝึกงดอาหารยามวิกาล เป็นต้น
๒. แบบธุตังคะ คือ กำจัดกิเลสแบบเฉียบพลัน โดยผู้ปฏิบัติจะต้อง
มีขันติ ความอดทน และความเพียรสูง จึงจะทำได้ ซึ่งวิธีนี้ ก็คือ
การถือธุดงควัตร ซึ่งแบ่งเป็น ๔ หมวด มีทั้งหมด ๑๓ ข้อ ส่วนใคร
จะถือธุดงค์ข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อ ก็ขึ้นกับกำลังศรัทธา
๑
หมวดที่ ๑ เกี่ยวกับเครื่องแต่งตัว เพื่อแก้นิสัยขี้โอ่ อวดมั่งอวดมี
รักสวยรักงาม มีดังนี้ คือ
๑.๑
ใช้แต่ผ้าบังสุกุลที่ชักมาได้เท่านั้น
๑.๒ ใช้แต่ผ้าไตรจีวรเพียง ๓ ผืนเท่านั้น
หมวดที่ ๒ เกี่ยวกับการกิน เพื่อแก้นิสัยตามใจปากท้อง
๒.๑ ฉันแต่อาหารที่บิณฑบาตมาได้เท่านั้น
๒.๒ เดินบิณฑบาตไปตามแนวที่กำหนดเท่านั้น
๒.๓ ฉันเอกา คือ ฉันมื้อเดียวเท่านั้น
๒.๔ ฉันสำรวม คือ เอาอาหารหวานคาวใส่รวมกันในบาตร แล้วฉัน
๒.๕ เมื่อลงมือฉันแล้ว ไม่รับประเคนอีก
หมวดที่ ๓ เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย เพื่อแก้นิสัยติดที่อยู่ ติดสบาย
อยู่ในป่านอกละแวกบ้านเท่านั้น
๓.๑
๓.๒ อยู่ตามร่มไม้เท่านั้น
๓.๓
๓.
๓.๕
อยู่กลางแจ้งเท่านั้น
อยู่ในป่าช้าเท่านั้น
อยู่ในที่ ๆ คนอื่นจัดให้เท่านั้น
หมวดที่ ๔ เกี่ยวกับการดัดนิสัยเกียจคร้าน
C.ด
- อยู่ในอิริยาบถ ๓ เท่านั้น คือ เดิน ยืน นั่ง ไม่นอนหลังแตะพื้น
เด็ดขาด ค