การฟังและการเคารพในวัฒนธรรมไทย แด่นักสร้างบารมี 1 หน้า 45
หน้าที่ 45 / 171

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความสำคัญของการฟังและเคารพในวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะในกรณีของการฟังเทศน์จากผู้ใหญ่ในชุมชน การพนมมือเป็นสัญลักษณ์ของความเคารพที่แสดงออกในสถานการณ์ที่ต้องฟังบทเทศน์ เมื่อพนมมือ จะช่วยให้ไม่มีความคิดที่จะโต้แย้งและทำให้สามารถตั้งใจฟังได้ดีกว่า ส่วนความรู้สึกจากการถูกบังคับนั้นทุกคนไม่อยากให้เกิดขึ้น รวมถึงการเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับผู้หลักผู้ใหญ่และการอบรมให้เคารพตั้งแต่เยาว์วัย

หัวข้อประเด็น

-การฟังเทศน์
-ความเคารพในวัฒนธรรมไทย
-การพนมมือและจิตใจ
-การบังคับและการฝึกรูปแบบต่างๆ
-บทบาทของผู้ใหญ่ในครอบครัว

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แต่... นั ก ส ร้ า ง บ า ร มี 4 ๑ ๔๕ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทนต่อการรับคำสั่ง ดุด่าว่า กล่าวจากผู้ใหญ่ ไม่มีใครในโลกหรอกลูกเอ๊ย....ที่จะ ชอบให้คนโน้นสั่งคนนี้ใช้ เพราะเขาจะรู้สึกว่าถูกบังคับ ทุกคนไม่ชอบให้ใครมาดุด่า ทุกคนชอบสบาย หลวงพ่อถูกฝึกมาจากโยมพ่อ เนื่องจากเดิม โยมพ่อเป็นทหาร แล้วท่านเป็นคนๆ เคร่งครัด ระเบียบ วินัย ตั้งแต่เกิดมาหลวงพ่อไม่เคยเถียงท่านเลย เพราะ ถ้าเถียงเดี่ยวโดนตีหลังขาด แต่โยมแม่ใจดี ถ้าพ่อ แม่ก็ปลอบ ถ้าเปรียบ แม่เป็นพระจันทร์ พ่อก็เป็นพระอาทิตย์ในบ้าน เวลา ท่านดุ เวลาท่านดี นอกจากเถียงท่านไม่ได้แล้ว ยังต้อง พนมมือฟังท่านอีกด้วย คนรุ่นปู่ย่าตาทวดของเรา ไปวัดเมื่อไร เขาจะนั่ง พนมมือฟังเทศน์ แต่ว่ารุ่นหลังๆ นั่งพนมมือนานๆ เข้าชกเมื่อย ทนไม่ไหว อยากจะเอามือลง ก็เอา แต่ว่า ตอนโดนทําโทษโดนตำหนิ ไม่ควรเอามือลง ควร พนมมือไว้ เพราะอะไร เพราะพอพนมมือแล้ว ความคิดที่จะโต้แย้งมัน ไม่มี หรือถ้ามีก็จะน้อยกว่าที่ไม่ได้พนมมือ หลวงพ่อ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More