การสื่อสารและความเข้าใจในพระธรรม แด่นักสร้างบารมี 1 หน้า 52
หน้าที่ 52 / 171

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการสร้างความเข้าใจระหว่างพระอาจารย์และลูกศิษย์ โดยเน้นถึงความสำคัญของการฟังคำติชมและความปรารถนาดีจากผู้อื่น หลวงพ่อแสดงถึงความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้นในบางครั้ง และการเปิดใจรับฟังทำให้เกิดโอกาสในการเติบโตและเรียนรู้ หลวงพ่อจะไม่มีสิทธิ์โต้เถียงหรือป้องกันตัวเอง และหากฟังแล้วรู้สึกผิดพลาดสามารถพัฒนาไปได้ โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในเพศพระภิกษุ ไม่สามารถตอบโต้ได้ และต้องเปิดใจรับฟัง.

หัวข้อประเด็น

-การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
-ความเข้าใจในคำติชม
-การฟังอย่างตั้งใจ
-ความสำคัญของความปรารถนาดี
-การเรียนรู้จากความผิดพลาด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

MML ๕๒ แต่... นั ก ส ร้ า ง บ า ร มี ๑ ได้เป็นคนทำ คนอื่นทำเอาไว้ก่อน แล้วเราไปทำงาน ตรงนั้นต่อทีหลัง ท่านจึงเข้าใจผิดคิดว่าหลวงพ่อท พอท่านเอ็ดหลวงพ่อเสร็จเรียบร้อย หลวง พ่อก็กราบขอบคุณท่าน แล้วก็ไม่เคยแก้หรอกว่าเราไม่ ได้ทำ ถ้าท่านไม่พูดขึ้นมาอีกในภายหลัง หลวงพ่อก ปล่อยให้มันผ่านเลยไป แต่ถ้าท่านพูดขึ้นมาหลวงพ่อ จึงจะบอกว่าเรื่องนั้นๆ ความจริงผมไม่ได้ทำหรอก คน โน้นๆ เขาทำทิ้งไว้ ท่านก็จะพูดว่า “อ้าวเหรอ...นึกว่าคุณทำ” โดน ดุฟรี ก็ไม่เป็นไร เพราะยิ่งทำให้เรารู้ว่าท่านปรารถนาดี อย่างยิ่งแก่เรา ถือว่าเป็นโอกาสดีที่จะได้รับฟังความ ปรารถนาดีอย่างจริงใจของท่านโดยตรง เพราะฉะนั้น ภายหลังไม่ว่าหลวงพ่อจะไปผิดไป พลาดอะไรมาอีก ท่านก็มีกำลังใจที่จะตำหนิ ติเตียนต่อ ไป เพราะรู้ว่ายังไง ๆ ก็ไม่เถียง แต่พอหลวงพ่อบวชแล้ว หมดสิทธิ์ที่จะไปยกมือพนมฟังท่าน หมดสิทธิ์ที่จะไป กราบท่าน เพราะว่าเราอยู่ในเพศพระภิกษุเสียแล้ว ก็ได้แต่เพียงว่าหากท่านจะพูดจะกล่าวเตือนอะไรมา ไม่ว่าจะด้วยความเข้าใจถูกหรือผิด ก็ฟังท่านไปไม่โต้เถียง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More