ประวัติการถวายจีวรในพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน ธันวาคม พ.ศ.2554 หน้า 79
หน้าที่ 79 / 124

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการถวายจีวรในสมัยพุทธกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับเทพธิดาชาลินีที่ถวายผ้าทิพย์ให้กับพระอนุรุทธเถระ รวมถึงการแนะนำของหมอชีวกโกมารภัจจ์เกี่ยวกับการรับผ้าที่มีสภาพต่าง ๆ สู่การใช้ในการทำจีวรของพระภิกษุสงฆ์ ซึ่งสามารถนำผ้าจากกองขยะหรือห่อศพมาทำเป็นจีวรได้ นับเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในประวัติศาสนาที่สอนให้เห็นถึงความมีน้ำใจของผู้คนที่ประสงค์ดีที่เข้าใจถึงความยากลำบากของพระสงฆ์ และการพัฒนาการถวายจีวรโดยยึดหลักการและวิสัยทัศน์จากพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

- ประวัติการถวายจีวร
- กรองตรวจสอบเนื้อหาจากเทพธิดาชาลินี
- ความสำคัญของหมอชีวกโกมารภัจจ์
- การพัฒนาการถวายจีวรในพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

D M C ช่องนี้มีค่าตอบ 40 B ได้ว่า “ถ้าเราจะถวายโดยตรง พระเถระก็จะไม่รับ (เนื่องจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังไม่ทรงมีพระบรม พุทธานุญาตให้รับ) เมื่อเป็นดังนี้เทพธิดาชาลินีจึงน้อมนำเอาผ้าทิพย์ ของเธอไปวางไว้ในกองหยากเยื่อ ซึ่งอยู่บริเวณที่ พระอนุรุทธเถระท่านจะต้องเดินผ่าน ซึ่งขณะที่นำไป วางนั้น เธอก็มีเทคนิคในการเอาไปวางแบบเนียน ๆ (คือวางให้ชายผ้าทิพย์โผล่พ้นกองหยากเยื่อออกมา ๔. ต่อมาในภายหลัง “หมอชีวกโกมารภัจจ์” ซึ่ง เป็น “แพทย์ประจำพระพุทธองค์” ที่ได้ถวายการ รักษาอาการต่าง ๆ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่น อาการห้อพระโลหิต เป็นต้น ก็เห็นถึงความยาก ลำบากของพระภิกษุสงฆ์ ที่ต้องไปแสวงหาผ้าที่พวก ชาวบ้านทิ้งไว้ตามกองขยะ กองหยากเยื่อ หรือนำเอา ผ้าที่ห่อศพมาทำความสะอาด แล้วตัดเย็บย้อมเพื่อ ทำเป็นสบงจีวร เนื่องจากไม่สามารถรับผ้าที่ชาวบ้าน นำมาถวายโดยตรงได้ เมื่อหมอชีวกโกมารภัจจ์เห็นถึงความยากลำบาก ให้เห็นง่าย ๆ และในที่สุดพระอนุรุทธเถระก็ได้เห็น ผ้าทิพย์ดังกล่าวจริง ๆ จากนั้นท่านก็จับที่ชายผ้า แล้วดึงออกมา เพื่อนำกลับไปทำจีวรต่อไป ของพระภิกษุสงฆ์เช่นนั้น ท่านจึงไปกราบทูลขอพร เหตุการณ์นี้จึงกลายมาเป็นจุดเริ่มต้น หรือ จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในทำนองที่ว่า “ขอให้ เป็นต้นเรื่องที่ทำให้ผู้ใจบุญในสมัยพุทธกาลเกิด พระภิกษุสามารถรับคฤหบดีจีวรได้” (คือรับผ้าจีวร วิสัยทัศน์ตามแบบเทพธิดาชาลินี ซึ่งเมื่อเกิดวิสัยทัศน์ ที่มีผู้ถวายได้นั่นเอง) ด้วยเหตุนี้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้ว ผู้ใจบุญในสมัยพุทธกาลจึงทำการ copy and จึงทรงมีพระบรมพุทธานุญาตให้ใช้ได้ทั้ง ๒ แบบ develop คือเลียนแบบแล้วนำไปพัฒนาต่อนั่นเอง คือพระภิกษุจะไปหาผ้าบังสุกุลมาทำเป็นจีวรก็ได้ โดยการจงใจนำผ้าไปไว้ตามที่ต่าง ๆ เช่น ที่ต้นไม้ หรือจะรับผ้าจีวรที่คฤหบดีถวายโดยตรงก็ได้ ตามกองขยะ กองหยากเยื่อ ในป่า หรือตามข้างทาง เป็นต้น ซึ่งเป็นที่ที่ผู้ใจบุญคิดแล้วว่า พระภิกษุสงฆ์ จะต้องเดินผ่าน โดยทำที่เป็นเหมือนว่า “ผ้านี้ทิ้งแล้ว” เมื่อมีพระภิกษุเดินไปพบ ท่านก็จะหยิบและนำผ้า ดังกล่าวไปทำจีวร เพราะถือว่าเป็นผ้าที่ไม่มีเจ้าของ ซึ่งผ้าชนิดนี้จะเรียกว่า “ผ้าป่า” เพราะเอามาจากป่า หรือ “ผ้าบังสุกุล” ที่แปลว่า ผ้าเปื้อนฝุ่น นั่นเอง ๑๐. ในขณะเดียวกันนั้นเองหมอชีวกโกมารภัจจ์ ก็ได้น้อมถวายคฤหบดีจีวรเป็นคนแรกและครั้งแรก โดยนำผ้าเนื้อดีแบบสุด ๆ ที่ได้รับพระราชทานเป็น รางวัลจากการรักษาพระเจ้าจัณฑปัชโชติ ซึ่งป่วยเป็น โรคผอมเหลืองให้หายได้เป็นปลิดทิ้ง ด้วยเภสัชที่ปรุง จากเนยใส แต่ทำให้มีสี กลิ่น และรสเหมือนกับ น้ำฝาด มาน้อมถวายแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More