ข้อความต้นฉบับในหน้า
๕๔ ลมหายใจเข้าออกของพระพุทธศาสนา
ต. นั่งขัดสมาธิ ขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นิ้วชี้ขวาจรด
นิ้วหัวแม่มือซ้าย นั่งให้อยู่ในท่าที่สบายๆ ไม่ฝืนร่างกายมากจนเกินไป ไม่
ถึงกับเกร็ง แต่อย่าให้หลังโค้งงอ หลับตาพอสบายๆ คล้ายกับกำลังพักผ่อน
ไม่บีบกล้ามเนื้อตาหรือว่าขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจมั่น ทําใจสบายๆ สร้างความ
รู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่ากำลังจะเข้าไปสู่ภาวะแห่งความสงบ สบาย
อย่างยิ่ง
๔. นึกกําหนดนิมิต เป็น “ดวงแก้วกลมใส” ขนาดเท่าแก้วตา าใส
บริสุทธิ์ ปราศจากราคี หรือรอย าหนิใดๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดัง
ประกายของดวงดาวดวงแก้วกลมใส นี้เรียกว่า บริกรรมนิมิต นึกสบายๆ
เหมือนดวงแก้วนั้นมานิ่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ นึกไปภาวนา
ไปอย่างนุ่มนวลเป็นพุทธานุสติว่า “สัมมาอะระหัง” หรือค่อยๆ น้อมนึก
ดวงแก้วกลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดย
เริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ 9 เป็นต้นไป น้อมด้วยการนึกอย่างเบาๆ สบายๆ ใจเย็นๆ
พร้อมกับค่าภาวนา
อนึ่ง เมื่อนิมิตดวงใสกลมสนิทปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วาง
อารมณ์สบายๆกับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่าดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์
หากดวงนิมิตนั้นอันตรธานหายไปก็ไม่ต้องนึกเสียดายให้วางอารมณ์สบายๆ
แล้วนึกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่น ที่
มิใช่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มี
การบังคับ และเมื่อนิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติลงไปยัง
จุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้ายมีดวงดาวดวงเล็กๆ อีก
ดวงหนึ่งซ้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ
ตรงกลางนั้นไปเรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุดได้ถูกส่วนแล้ว จากนั้นทุกอย่างจะ
ค่อยๆ ปรากฏให้เห็นได้ด้วยตนเอง เป็นภาวะของดวงกลมที่ทั้งใสทั้งสว่าง
หญิงข้าง
ฐานที่ ๑ ปากช่อง รายงา
นที เทพห
รานที่ อ น ประสาท
น ๔ เทคบ
co
พระมหาสมชาย ฐานวุฑโฒ M.D., Ph.D.
๕๕
หญิง Ca
ราชร้างรา
ฐานที่ ๗ ศูนย์กลางกายที่ตั้งจิตถาวร
ฐานที่ 9 ศูนย์กลางกายระดับสะดือ
ผุดซ้อนขึ้นมาจากกึ่งกลางดวงนิมิต ตรงที่เราเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ
ดวงนี้เรียกว่า “ดวงธรรม” หรือ “ดวงปฐมมรรค” อันเป็นประตูเบื้องต้น
ที่จะเปิดไปสู่หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน การระลึกนึกถึงนิมิต หรือดวง
ปฐมมรรค สามารถทําได้ในทุกแห่งทุกที่ทุกอิริยาบถ เพราะดวงธรรมนี้ คือ
ที่พึ่งที่ระลึกอันประเสริฐของมนุษย์
ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้สม่ำเสมอเป็นประจำ ทำเรื่อยๆ ทำ
อย่างสบายๆ ไม่เร่ง ไม่บังคับ ทําได้แค่ไหนให้พอใจแค่นั้น อันจะเป็นเครื่อง