ข้อความต้นฉบับในหน้า
ในเรื่องการดูแลพระภิษอพาพารนี้ พระองค์ทรงให้ความสำคัญอย่างใหญ่หลวง โดยถึงกับทรงกล่าวไว้ว่า “ภิษุหลาย พวกเธอไม่มีมารดา ไม่มีบิดา ผู้ใดเล่าจะพิฆษบา พวกเธอ ถ้าพวกเธอจ้าหนไม่พยายาลันเอง ใครเล่าจะจ้าหน พิฆษาบา ผู้ใดต้องการอุปถัมภาเราผู้นั้นจงพยาบาลภิษุอาพาร”³ การที่พระภิษุในพระพุทธศาสนานี้จะต้องฝากชีวิตไว้สังกักและกันตลอดชีวิตดังพระดำรัสนี้ พระอุปชามัย พระอาจารย์ พระลูกศิษย์ จึงอยู่ในฐานะเสมือนพ่อกับลูกที่ต้องฝากชีวิตดูแลกันและกันไปตลอดชีวิต ดังนั้น การคัดเลือกคนเข้ามาบวชตามการฝึกอบรมพระภิษุบวชใหม่ก็จำเป็นต้องทำอย่างรอบคอบและเข้มงวด มีนัยน์ว่าจะลายเป็นการก่อปัญหาให้กันตนเองและหมู่สงฆ์ไปตลอดชีวิต และกระทบกระเทือนถึงอายุพระพุทธศาสนาโดยปริยาย การที่ผู้สูงจะได้บุคคลที่ทั้งพระอุปชามัยและพระอาจารย์สามารถฝากชีวิตและฝากอนาคตพระพุทธศาสนาไว้ในความรับผิดชอบได้นั้น มีทางเดียวคือ ต้องเคี่ยวเข็ญอบรมภารตงิศด้วยปิยวรรณ ⁴ และการปฏิบัตินอญธรรมให้เป็นนิสัยของพระภิษุบวชใหม่ติดตัวไปตลอดชีวิต โดยใช้วิธีการ ⁴ ขั้นตอน คือ ๑๐. แนะให้ ๒. นำให้ดู ๓. อยู่ให้เห็น 4. เคียงให้เป็นนิสัย ซึ่งเป็นมาตรฐานการฝึกอบรมที่ให้บำบัดตั้งแต่โบราณ ซึ่งมุ่งเน้นการขัดเกลาให้มีสันดานดีเป็นสำคัญ การที่พระอุปชามัยและพระอาจารย์ปฏิบัติตามภาระหน้าที่ในการอบรมศิษย์อย่างเข้มแข็งนี้จึงทำให้ในช่วงเวลานั้นแม้การบรรจุคำสอนยังมั่นอยู่ แต่ก็มีบรรจุธรรมเป็นพระอรหันต์เป็นจำนวนมาก ซึ่งแตกต่างจากในยุคหลังที่การบรรจุคำสอนมีมาก แต่กลับมีบรรจุธรรมเป็นพระอรหันต์จำนวนน้อยลง เป็นการสวนทางกันระหว่างจำนวนสายในบทที่เพิ่มขึ้นกับจำนวนพระธาตุที่น้อยลง⁴
๓. การสร้างคนในอุปปลายพุทธกาล
ต่อมาเมื่อเข้าสู่ ปีสุดท้ายก่อนพิธีประชุมสัมพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธบรรพชน การบวชในแว่นแคว้นต่าง ๆแพร่หลายมากขึ้นกว่าดินแดนเก่า สงผลให้จำนวนพระภิษุ๗๐๐๐๐๐บทใหม่มีขึ้นอย่างมหาศาล ขาวพุทธกาลเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมหาศาล การบิณฑบาตเพื่อเลี้ยงชีพก็ไม่ผิดเคืองเพราะจำนวนลาภกิจการก็เพิ่มขึ้นตามมามอย่างมหาศาลเช่นเดียวกัน ในช่วงนึง การคัดรองคนและการฝึกอบรมเริ่มหย่อนคุณภาพลง ไม่เข้มงวดเหมือนในยุคต้นพุทธกาล เป็นเหตุให้พระภิษุบางรูปไม่ดีงาม ก่อปัญหาขึ้นในหมู่สงฆ์ และทำให้ชาวโลกติเตียน