ข้อความต้นฉบับในหน้า
ช่วยยึดอายุพระพุทธศาสนาให้อยู่สืบไป เพราะวันได้ใกล้สิ้นพระพุทธองค์และเหลา
พระองค์นั้นลากแล้ว พระธรรมวินัยจะเป็นคาสดั่งสอนอบรมพระภิกษุและข่าวพุทธ
รุ่นหลังเทพระองค์สืบต่อไป ซึ่งจะทำให้พระศาสนามีอายุยาวต่อไปได้ตราบ
นานเท่านาน
เมื่อเข้าสู่ช่วงปลายพระศกาลในราวพระราชที่ ๑๔ ก่อนที่พระสังฆเจ้าจะเสด็จ
ดับขนานิพาน ๑ พระราช พระองค์ได้ทรงนำเนีย ๑ อ ปณิธานธรรม ๓ และพระวินัย
๒๒๗ ข้อ มาสรุปเป็นหลักสูตร ๗ ขั้นตอน สำหรับฝึกอบรมพระภิษุ โดยตรัสแสดงเหตุผลว่า
การฝึกอบรมคนในพระธรรมวินนี้ มีการศึกษาไปตามลำดับ มีการปฏิบัติไปตามลำดับ
ดังปรากฏหลักฐานอยู่ในคุณโมคัลลานสูตรฯ หลักสูตรทั้ง ๗ ขั้นตอนนั้น สรุปได้ดังนี้
๑. ฝึกให้รักษาศีล
๒. ฝึกให้สำรวมอินทรีย์
๓. ฝึกให้จับประมาณในการบริโภคอาหาร
๔. ฝึกให้ประกอบความเพียรเครื่องดื่นอยู่เนือง ๆ
๕. ฝึกให้ประกอบด้วยสติปัญญา
๖. ฝึกให้อยู่ในเลขานะอันสังสัด
๗. ฝึกให้บรรลุงานที่ ๑-๔
เมื่อพระองค์ทรงสรุปหลักสูตรการฝึกอบรมพระภิษุเสร็จแล้ว ก็ทรงให้เห็นว่า ถึง
แม้พระองค์จะทรงมีพระมาหากฐาที่จะช่วยชาวโลกให้หลุดพ้นจากเวียนว่ายตายเกิด
อยู่ในวังสารมาเพียงใดก็ตาม แต่พระองค์ก็ทรงช่วยเหลือได้เพียงการเป็นผู้นำหนทาง
ปราบกิเลสเท่านั้น ผู้ซึ่งเดินทางออกจากวังสูงสาระจะต้องลงมือปราบกิเลสเอง และจะ
ปราบกิเลสได้สำเร็จหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับความเพียรของตนเองในการปฏิบัติธรรมมรรค
มังค์ ๘ โดยฝึกตามบทธาย๗ ขั้นตอน ไปตามลำดับดังที่สรุปไว้
จากพุทธภาษิตเร่งสร้างคนที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ก็พอจะสรุปได้ว่า การสร้างคนใน
พระพุทธศาสนานั้น แท้จริงก็คือการฝึกคนให้ใหญ่ด้วยการปราบกิเลสในตนเอง ใหญ่ด้วย
การแนะนำขวัญผู้อื่นให้ปราบกิเลสด้วย ใหญ่ด้วยการดำรงชีวิตอย่างประมาณในการ
บริการปัจจัย ๔ ตามความจำเป็นของชีวิต อบรมเหมือนต้นไม้ที่ออกมาด้วยกิ่งก้านสาขา
มากมาย แต่น้ำก็น้อยและทนทรหดต่อสภาพดินฟ้าอากาศเหมือนต้นหญิงในทะเลทราย
บุคคลที่มุ่งมั่นฝึกในอบรมตามแนวทางนี้ ย่อมสามารถบรรลุธรรมที่พระองค์สู้ได้
สำเร็จ
(อ่านก่อนฉบับหน้า)