การทอผ้าและการสร้างบุญในพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2556 หน้า 40
หน้าที่ 40 / 108

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการทอผ้าในพุทธศาสนา โดยเฉพาะในอีสาน ที่ผู้หญิงมีบทบาทในการสร้างบุญผ่านการทอผ้าคัมภีร์ใบลาน การทอผ้าไม่เพียงแต่เป็นงานฝีมือ แต่ยังเป็นการสร้างบุญและสืบทอดวัฒนธรรมไทย ด้วยเชือกที่มัดรอบคัมภีร์เพื่อป้องกันการแตกหัก เป็นตัวอย่างของการมีส่วนร่วมในการสืบทอดประเพณีและสร้างศาสนาที่แสดงถึงความมีมิตรภาพ ความศรัทธา และการปลูกฝังค่านิยมดีในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-การทอผ้า
-วัฒนธรรมพุทธศาสนา
-การสร้างบุญ
-ผ้าคัมภีร์ใบลาน
-ประเพณีอีสาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดั้เช่น พุทธศาสนิกชนในท้องถิ่น ผ้าทอหยกดิ้น ผ้าไหม และผ้าต่วน เป็นต้นอีสานมีธรรมเนียมนิยมสร้างผ้าผ้าคัมภีร์ใบลานถวายวัดด้วยพี่น้องคุณภาพดี ซึ่งมักเป็นผ้าที่ออกขึ้นเอง เนื่องจากวัฒนธรรมไทยไม่อนุญาตให้ผู้หญิงจารพระธรรม ที่ถือว่าการจารอภัยจะตกแต่ละตัวอักษรจะสมาคมหาศาล ประหนึ่งสร้างโบสถ์วัดการ ดังนั้นฝ่ายหญิงจึงหากุโลบายสร้างบุญด้วยการบรรจงทอผ้าท้องคัมภีร์ชิ้น มีทั้งผ้าชิ้น ผ้าลายขิด ผ้าทอยกดอ๊ก เชือกทอคัมภีร์ เชือกยามัดรอบคัมภีร์ใบลาน คัมภีร์ใบลานเมื่ออ้ากวเรียบร้อยดีแล้วผู้ถายจะมัดโดยรอบด้วยเชือก เพื่อไม่ให้คัมภีร์แตกมิดและป้องกันสัตว์เข้าไปกินใบลานข้างใน เชือกนี้มีความยาวมาก ทำด้วยวัสดุหลากหลาย เช่น ผ้า ปอ ไม้ ในสมัยโบราณผ้าศักดิ์มากถึงขนาดเอาผมตนเองมาถักเป็นผมเปียหรือฟั่นเป็นเชือกยาว ๆ ใช้ผ้าคัมภีร์มิ่งในการพันเชือกเป็นเปลาะ ๆ นั้น มีหลายสายรูปแบบขึ้นอยู่กับธรรมเนียมปฏิบัติในแต่ละท้องถิ่น อยู่ในบุญ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More