ข้อความต้นฉบับในหน้า
โอกาสปาดิเมกที่พระพุทธองค์ประทานให้ ประกอบด้วยอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เริ่มต้นด้วยอุดมการณ์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าสว่าง ขันติ ปะมัง เตติกา แปลว่า ความอดทนเป็นตะระงมอย่างยิ่ง หมายถึงผู้จะไปทำหน้าที่เป็นแสงสว่างของโลก จะต้องมีความอดทนเป็นพื้นฐาน เริ่มตั้งแต่ต้องอดทนต่อความลำบากตรากตรำ อดทนต่อทุกข์ขวนขวาย อดทนต่อการกระทบกระทั่ง และอดทนต่อกิเลส ความโลก ความโกรธ ความหลง ถ้าหากอดทนดนดลื่นสิ่งเหล่านี้ได้ ก็จะสามารถฟื้นฟูอุปสรรคหลายไปสู่เป้าหมาย คือ อายตนีพ พนวดได้เหตุที่ทรงสอนให้อดทนอย่าให้จามายเพื่อไปนพนานั้น เพราะพระองค์ทรงเห็นแจ้งว่า นิพพานัง ประมัง วะนิจติ พุทธะ ท่านผู้นำทั้งหลาย คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าสว่าง พระนิพพานเป็นเยี่ยม คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ทรงเห็นพ้องต้องกันว่า สิ่งที่เยี่ยมที่สุดคือพระนิพพาน พระนิพพานเป็ฯสุขอย่างยิ่ง ดังนั้นเมื่อได้เกิดมาเป็นมนุษย์แล้ว ทุกคนจะต้องทำพระนิพพานให้แจ้ง และระวังที่สร้างบารมีอย่าไม่ปล่อใคร หรือเบียดเบียนใคร ดงพระพุทธดำรัสที่ว่า นะโม ปัณจะโิต ปะรูเปาติ สะมะโน โทษ ปะงัง วิหระยันโต คือ บรรพิติผู้ฆ่าสัตว์อื่น เบียดเบียนผู้อื่นไม่ชื่อว่าเป็นสมุจผู้สงบเลย เอตัง พุทธานะ สะนัง นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหลาย เมื่อทรงให้ดูกรมาณแล้ว ก็ทรงให้หลักในการปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตูปะสงค์ของชีวิตว่า สัพพะปัปสะสะ อะระณัง คือ การไม่ทำบาปทั้งปวง กุสะลัสัปสะสัมปทา การบำเพ็ญกุศลให้พร้อม สัจติตะประชโยนัง การทำจิตของตนให้ผ่องแผ้ว เอตัง พุทธานะ สะนัง นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พุทธัง ๆ ก็ คือ ทรงสอนให้ละชั่ว ให้ทำแต่ความดี แล้วให้ทำใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส เพื่อจะได้เข้าถึงพระรัตนตรัย ที่มีอยู่ภายในตัวของทุก ๆ คน เพราะฉะนั้นจึงเป็นมนุษย์แล้ว ล้วนมีพระธรรมกาย อยู่ในตัวทั้งสิ้น ซึ่งพระพุองค์ทรงมุ่งเน้นให้ทุกคนแสวงหาด้วยตัวคนจริง ภายใน เพราะสิ่งนี้เป็นพี้งที่ระลึกได้อย่างแท้จริง และเป็นสิ่งที่ประเสริฐที่สุด ต่อจากนั้นก็ทรงให้วิธีการเผยแผ่ แนะนำ ถ่ายทอด เพื่อจะได้นำไปประกอบปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งยังเป็นต้นบุญต้นแบบที่คนชาวโลก โดยทรงให้วิธีตามหลักวิชาชาติรตรต่อไป คือ อนุโมทนา ไม่ให้เอาใจว่าร้ายใคร อนุโมทาโถ ไม่ให้ไปทำร้ายใคร และไปชู้บังคับให้ใครเขาเชื่อ แต่ต้องให้เขาเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง ตามเหตุผล ผลักดันความศรัทธาเชื่อมั่นด้วยตัวเอง ปฏิโมกขะ จะ สังจะโร ให้รวมเป็นศีลและมารยาท จะได้ไม่ไปกระทบะะทังกับใคร และยังคงให้เกิดความน่าเคารพนับถือด้วย มัตตัญญุตา จะ วัดตัสมิง ให้รู้จักประมาณในการบริโภคแต่พอปิ บัตัญญุตา