การตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2557 หน้า 75
หน้าที่ 75 / 111

สรุปเนื้อหา

เมื่อพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ พระองค์ได้แสดงธรรมที่มีความสมบูรณ์บริสุทธิ์ ซึ่งเด่นชัดในทุกขั้นตอนการปฏิบัติ ธรรมของพระองค์มีความลึกซึ้ง และผู้ที่ตั้งใจปฏิบัติจะสามารถปราบกิเลสจนหมดสิ้นไปได้ รายละเอียดของการปฏิบัติธรรมอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพันแสดงถึงความมุ่งมั่น ที่ต้องทำจนสำเร็จเหมือนการว่ายน้ำ จึงจะเกิดประโยชน์เต็มที่.

หัวข้อประเด็น

-การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
-การสอนธรรมของพระองค์
-การปฏิบัติธรรม
-ความสำคัญของการศึกษาและการเข้าใจธรรม
-การเอาชีวิตเป็นเดิมพันในการปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เมื่อทรงฝึกฝนอบรมวิชา ครูได้ครบกำหนดแล้ว ในพระราชติดสุดท้ายก็เสด็จบังเกิดเป็นเจ้าชายสิทธัตราอุดม แห่งกรุงบิษฐ์ครั้นเมื่อพระชนมาย ๒๙ พฤษภาคม เสด็จออกมหินทายกรมณ์ และทรงตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ทรงรู้แจ้งด้วยพระองค์เอง ทรงเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระบรมครูของพวกเรา ความอัศจรรย์ของธรรมที่พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้แล้วทรงนำมาหสอน เนื่องจากทรงเตรียมการเทศน์สอนมายาวนานนับ ๔ อสังไข กับ ๑ แสนมหากัป ฉะนั้นคำสอนของพระองค์จึงมีความอัศจรรย์ คือ ๑) ธรรมทุกคำสอนมีความสมบูรณ์บริสุทธิ์ดี ทุกข้อธรรมมิถืองคำครบ ไม่ขาด ไม่เกิน เป็นความจริง เกิดประโยชน์ต่อผู้ตั้งใจศึกษาปฏิบัติ ตามที่สำคัญข้อธรรมยังมีความลึกซึ้งเชิงไปตามลำดับ ไม่มีกระโดดข้ามขั้นตอน ดั่งมีปรากฏอยู่ในทาสวดมนต์ว่า "อ Gogคลยายถัง มัณฑละถัง ประโยสานะถัง" แปลว่า ธรรมซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงนั้น งานในเบื้องต้น งานในท่ามกลาง และงานในเบื้องปลาย เนื้อหาว่าอะไรละเอียดซึ้งถึงกันไปทั้งเบื้องต้น กลาง และปลาย ลาดลุ่มไปตามลำดับ ๆ เหมือนเดินจากชายหาดลงไปในทะเล ทะเลเริ่มต้นจากตื้น ๆ ท่ามกลางก็ลึกลงไปเบื้องปลายก็ลึกที่สุด คำสอนของพระพุทธองค์ก็เป็นเช่นนั้น คือผุดลึกไปตามลำดับ ๆ ไม่มีการโต้ไปมา ไม่เป็นเช่นขุนเขาที่มีราก มีเหงา เดี้ยงลึก เดียวสูง ดังนั้นในการศึกษาธรรมะ แม้ว่าบางครั้งด้วยกำลังศีลญาณของเราจะเข้าใจได้บางไม่เข้าใจบ้าง ข้อสำคัญที่จะปล่อยผ่านไม่ได้คือ ไม่คิดเอาเองตามความเข้าใจแล้วสับสนข้อธรรมเป็นDeadขาด หากสับสนธรรมเมื่อไรจะพลัดหลงที เพราะจะต่อไม่ติดในความหมายทั้งหมดของธรรมนัน ๆ ความรู้จะต่อกัน不中ิด ๒) ธรรมทุกข้อนั้น เมื่อใดตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพันแล้ว จะมีอานิสงส์หรือผลดีว่า ธรรมข้อนั้น ๆ จะสามารถปราบกิเลสให้หมดสิ้นไปจากใจ เป็นพระอรหันต์ เข้าพระนิพพานตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปได้ การเอาชีวิตเป็นเดิมพันปฏิบัติตามธรรมนั้นคือ สิ่งที่ทรงห้าม ตั้งใจไม่ด้อยชีวิต ถ้าจะให้ทำบาปทำละเมิดผิดชั่ว แต่ว่าจะตายยอม หรือสิ่งใดที่ทรงสอนให้ทำก็ทำนั้น ก็ทำด้วยชีวิต ถ้าทำยังไม่จบจะไม่เลิก ทำไม่สำเร็จไม่ยอมเลิก ทำยังไม่ดีไม่ยอมเลิก ต้องใช้ความเพียรพยายามทำไปจนกว่าจะได้ ทำงานสำเร็จ เช่นนี้จึงเรียกว่า การปฏิบัติธรรมอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ๓) ธรรมเหล่านี้จะเกิดประโยชน์เต็มที่ต่อเมื่อ ได้ศึกษานเข้าใจ แล้วนำไปปฏิบัติจนกระทั่งกลายเป็นนิสัย ประโยชน์เต็มที่คือ ทั้งปิดฝน เปิดประสวก และกลางทางไปพระนิพพานทำให้หมดกิเลสได้ ถ้าเพียงแต่เข้าใจธรรมดี แต่ยังไม่ไปปฏิบัติจนกระทั่งเป็นนิสัยแล้ว ธรรมั้น ๆ ก็ไม่ได้เกิดประโยชน์เท่าที่ควรจะเป็น เหมือนคนที่อุตส่าห์ว่ายน้ำได้แต่จะได้ตรากตรำว่าก็ไม่รู้จะทำอย่างไร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More