การสืบทอดพระธรรมและวินัยในพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2557 หน้า 41
หน้าที่ 41 / 111

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าต่อพระอานนท์ก่อนเสด็จดับขันธ์ว่าพระธรรมและวินัยจะเป็นศาสดาแทนพระองค์ในอนาคต ให้นำไปสู่การบันทึกไว้ในพระไตรปิฎก. การสังคายนาครั้งที่ 4 ที่อาโลกเสนสถาน ประเทศศรีลังกา ทำให้เกิดการบันทึกพระธรรมวินัยในลายลักษณ์อักษรครั้งแรก. ข้อมูลการสำรวจโดยโครงการพระไตรปิฎกพบว่า ฉบับพระไตรปิฎกมีอายุมากหลายร้อยปี, โดยเฉพาะในประเทศศรีลังกาที่ใช้ใบลานในการบันทึกคำสอนเนื่องจากมีคุณสมบัติในการเก็บรักษาเป็นอย่างดี.

หัวข้อประเด็น

-พระธรรมและวินัย
-พระสัพพัญญู
-การบันทึกพระไตรปิฎก
-ความสำคัญของการรักษาคำสอน
-อนุรักษ์วรรณกรรมทางศาสนา
-การศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

"ก่อนเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน พระสัมมาสัมพุทธเจ้ารับสั่งกับ พระอานนท์พุทธอุปปาตว่า ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย หลังจากเราส่งดับไป ก็จะเป็นศาสดาของเธอ ทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ได้ทรงตั้งสาวกองค์ใดให้เป็นพระศาสดา ปกครองคณะสงฆ์สืบต่อจากพระองค์ แต่ทรงให้พระธรรมวินัย คือ คำสั่งสอน เป็นศาสดาแทนพระองค์ต่อไปในกาลภายหน้า เมื่อเริ่มเริ่มเหล่าพุทธสาวกสิงทอดพระธรรมด้วยการสวดทรงจำ เรียกว่า มุจปะ จนกว่าจะครบ ๑๐๐ ปี เมื่อคราวสังคายนาครั้งที่ ๔ ณ อาโลกเสนสถาน มณฑปเสนบท ประเทศศรีลังกา จึงได้มีการบันทึกพระธรรมวินัยเป็นลายลักษณ์อักษรลงในคัมภีร์ไตรปิฎก เป็นครั้งแรก ซึ่งถือเป็นการกำเนิดพระไตรปิฎกฉบับสุดของพระพุทธศาสนา ฝ่ายเวราวาท ที่ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่าเป็นบันทึกคำสอนดังเดิมของพระพุทธองค์ที่เก่าแก่ สัมบูรณ์ และถูกต้องแม่นยำที่สุด ที่ยังคงสืบทอดมาตั้งแต่ปัจจุบัน ข้อมูลการสำรวจโดยโครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย ในหลายพื้นที่ของ ประเทศไท รวมทั้งประเทศศรีลังกา พม่า และเขตสิบสองปันนา ในประเทศจีน พบว่า คัมภีร์พระไตรปิฎกในฉบับหลายหลายเวอร์ชั่นมีอายุกว่า หลายร้อยปี ฉบับเก่าแก่ที่สุดถึง กว่า ๑๐๐ ปี และเป็นที่น่าสังเกตว่า พุทธศาสนิกชนในประเทศศรีลังกาอ่านฉบับพระไตรปิฎกตามการเลือกใช่ใบลานเป็นวัดบันทึกคำสอนอันศักดิ์สิทธิ์ เนื่องจากใบลานมีคุณสมบัติ เบาและบาง สามารถเก็บรักษาไว้เคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีอายุการใช้งานนานหลายร้อยปี"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More