องค์ประกอบของคำพูดและผลกระทบทางศีลธรรม วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2557 หน้า 8
หน้าที่ 8 / 136

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้ว่าด้วยองค์ประกอบของคำพูดและผลกระทบที่มีต่อศีลธรรม โดยเฉพาะการใช้คำหยาบและการพูดเจ๋อ ซึ่งอาจส่งผลต่อผู้อื่น การมีเจตนาในการพูดจะส่งผลต่อการกระทำของคนรอบข้าง หากคำพูดนั้นเป็นที่เชื่อถือและนำไปปฏิบัติจึงเป็นการผิดศีล ซึ่งต้องสำรวจวาจาของตนเองเพื่อไม่ละเมิดศีลและเป็นการฝึกพูดให้เกิดประโยชน์สูงสุด

หัวข้อประเด็น

-องค์ประกอบของคำพูด
-ผลกระทบทางศีลธรรม
-การใช้คำหยาบ
-การพูดเจ๋อ
-การรักษาศีล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นั่งลมห่มฟ้า ถอดผมด้วยท่อนแรงดาลสัง ๕๕ ปี แต่กรรมนั้นสิ้นสุดลง เพราะชาตินันได้ อาศัยพระมหาทุกฌาณจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่เลิศจงโปรด จนกระทั่งได้บรรลุอรหัตผล จึง ไม่ต้องเปลื้องกายและกินดู หรือใช้แผงตาล ถอดผมอีก องค์ประกอบของคำหยาบ มี ๓ ประการ คือ ๑. มินอันที่ตนอยากด่า ๒. มิตรโกรธเคือง ๓. ได้สมดั่งใจปรารถนา การพูดเพื่อเจ๋อ หรือ สัมผัสปลาบเป็นการกล่าวไม่กากกลัวกล่าวไม่จริง ไม่อจรจร ไม่จรรยาม เป็นเวลาที่ไม่มีหลักฐาน ไม่มีท้องไม่ประกอบด้วยประโยชน์ องค์ประกอบของคำพูดเพื่อเจ๋อ มี ๒ ประการ คือ ๑. มีเจตนาพูดเรื่องที่ประโยชน์ ๒. มีการพูดเพื่อใจจริง หากไม่มีใครถือสาหรือสนใจในเรื่องที่พูดนั้นก็ยังไม่ถือว่าเป็นอุกาลกรรมบก แต่ถ้ามีคน เชื่อถือและนำไปปฏิบัติตามจึงจะจัดว่าเป็นอุกาลกรรม ทั้งหมดนี้ คือ องค์ประกอบหลักของคำว่าผิดศีลข้อ ๔ คือ “มูลวาจาา เวระมณี” รวมไปถึงคำพูดที่เรียกวาเป็นอุกาลกรรม เมื่อเข้าใจอย่างนี้แล้ว เราจะได้สำรวจง วาจาของเราให้ดี ไม่ไปลงละเมิดทั้งศีล ทั้งอุกาลกรรมบวก และควรฝึกพูดแต่ปียาวจา ให้ลูกถ้อยคำที่เปล่งออกเป็นประดุจด้อยคำ เพราะ ถ้อยคำผลอย เป็นไปเพื่อบูชาคุณ เพื่อยกใจผู้งงขึ้น น้อนบำใจให้ไปสู่วิส และนิพพาน อีกทั้งคราวไว้ข้าผู้มีบุญให้มาส่งบำบงฯ มาเลยงทพระรัตนตรัย ภายใน ซึ่งจะได้ถือว่าเป็นผู้มีความสะอาดจากาอย่างแท้จริง...
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More