วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2557 หน้า 120
หน้าที่ 120 / 136

สรุปเนื้อหา

สมาธิคือความสงบและความรู้สึกเป็นสุขที่สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง โดยมีวิธีปฏิบัติตามที่พระมงคลพลเทพ ได้อธิบายไว้ การเตรียมใจผ่านการกราบบูชาและสมาทานศีล ๕ หรือ ๘ รวมถึงการนั่งในท่าที่เหมาะสม และการสร้างสมาธิผ่านการนึกถึงอนิมิต เป็นดวงแก้วกลมใสที่ช่วยให้จิตใจสงบ ซึ่งทำให้เพิ่มพูนพุทธานุสติ คำว่า “สมา อะระหัง” เป็นต้น

หัวข้อประเด็น

- ศาสนาและจิตวิญญาณ
- การพัฒนาตนเอง
- การฝึกสมาธิ
- วิธีปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา
- ความสงบในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เติมเต็มด้วยสติสมาธิและปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ด้วยวิธีปฏิบัติพระเดชพระคุณพระมงคลพลเทพ สุด จนทะโร หลวงปู่วัดป่าน้ำ ภาษเจริญ เมตตาสอนไว้ดังนี้ ๑. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้มนุษย์เป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพื่อยึดความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง ๒. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบาย ๆ ระลึกถึงคุณงามความดี ที่ได้กระทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจทำต่อไปในอนาคต จนร่างกายทั้งหมดประกอบขึ้นด้วยอุดมแห่งคุณงามความดีล้วน ๆ ๓. นั่งขัดสมาธิ เข้าขาวับข้างซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นิ้วชี้ข้างขวางกายดังคอหวีหัว มือข้างซ้าย นั่งให้อยู่ในท่าที่พอดี ไม่ฟร่ำกายมากจนเกินไป ไม่งั้นก็เกร็ง แต่ยกให้นั่งหลังตรงพอสมควรคล้ายกับกำลังพักผ่อน ไม่บิบกล้ามเนื้อท้องหรือขาถึง แล้วตั้งใจมั่น วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่ากำลังจะเข้าไปสู่ความสงบสบายอย่างยิ่ง ๔. นึกกำหนดอนิมิตเป็น “ดวงแก้วกลมใส” ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใบรง Raum ปราศจากรอยตาหนิด ๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดับประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า “บริกรรมมนต์นิภาพ” ๆ นักเหมือนดวงแก้วนั้นมนัสนิภาพอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ นักไปทางไปอย่างนุ่มนวล เป็นพุทธานุสติว่า “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง” หรือ “สมา อะระหัง”
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More