ผลกระทบของสื่อสังคมต่อเยาวชนไทย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 หน้า 66
หน้าที่ 66 / 140

สรุปเนื้อหา

เด็กในยุคนี้มีการใช้สื่อโซเชียลมีเดียมากขึ้น ทำให้สามารถเข้าถึงข้อมูลและความสัมพันธ์แบบใหม่ ซึ่งบางครั้งส่งผลให้เกิดค่านิยมผิดๆ ที่ไม่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น การขาดการควบคุมจากผู้ใหญ่ทำให้ปัญหานี้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การบวชสามเณรถือเป็นวิธีหนึ่งในการฟื้นฟูจิตใจและจริยธรรมของเยาวชน โดยเปิดโอกาสให้เด็กใกล้ชิดกับพระพุทธศาสนาเพื่อเสริมสร้างศีลธรรมและความรับผิดชอบในสังคมไทย โดยมุ่งหวังการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

หัวข้อประเด็น

-ผลกระทบของสื่อสังคม
-การสร้างค่านิยมที่ไม่เหมาะสม
-การบวชสามเณรและศีลธรรม
-การแก้ปัญหาเยาวชน
-โครงการบรรพชาสามเณรฟื้นฟูพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เด็กติด Social Network เช่น Line, Facebook, Twitter จนเป็นสังคมมากหน้า รวมถึงการเข้าถึงสื่อหลากหลาย สื่อรุนแรง ซึ่งเด็ก ๆ สามารถเข้าถึงได้ทุกอย่าง พอ กับผู้ใหญ่ โดยขาดการปิดกั้น กลั่นกรอง ทั้ง ๆ ที่เด็กยังไม่สามารถคิดวิเคราะห์และพิจารณาได้ว่าสื่อนั้นสมควรอ่านหรือไม่ ทำให้เด็กวุ่นโลก ขาดความเกรงใจผู้ใหญ่ เด็กเป็นหนุ่มเป็นสาวเรือนั้น จากสื่อมาก็ทำให้เด็กจับเป็นกันเป็น ๆ จนมีค่านิยมผิด ๆ เช่น เด็ก ม.3 ถ้าใครไม่มีแฟนถือว่าเชย เด็กผู้หญิงอยากมีความสัมพันธ์กับคู่ครูหรือเด็กหนุ่ม ม.3 ทวิวิธีจับคูเด็กใส ๆ ไร้เดียงสา ๑๙ เป็นต้น ปัญหาเยาวชนเหล่านี้ไม่ใช่ของใหม่ เพียงแต่สื่อที่ก่อให้เกิดปัญหานี้เองนะคะ ปัญหาจึงอยู่ในแนวเฉพาะราย เช่น ห้อง อาจมีปัญหา ๑-๒ คน แต่ปัจจุบันสื่อที่กระตุ้นเด็กในทางไม่มีมากขึ้น จนคิดว่าเป็นเรื่องปกติ ส่งผลให้เพิ่มปริมาณของปัญหาเยาวชนมากขึ้นเรื่อย ๆ วิธีแก้ปัญหาเยาวชนทั้งชายหญิง คือ ต้องอบรมจิตสำนึกเท่านั้น!!! เด็กผู้ชายต้องบวช สามเณร เด็กผู้หญิงต้องมาบวชอธิศสี ละ นุ่งขาวหมวกขาว เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางจริยธรรมในใจเยาวชน เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันจากอบายมุขหลายได้ บวชสามเณรทั่วไทย คือ คำตอบการแก้ปัญหาเยาวชน โครงการบรรพชาสามเณรฟื้นฟูพระพุทธศาสนาวไทย เป็นโครงการดี ๆ ที่เปิดโอกาสให้เยาวชนได้ใกล้ชิดพระพุทธศาสนา เป็นการสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา สร้างศาสนทายาท ปลูกฝังศีลธรรมและประเพณีอันดีงามของสังคมไทยในยุคปัจจุบัน และเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในทุกๆกิจ โดยใช้หลักสูตร “ความดีสากล ๕ ประการ” โดยฝึกนิสัยดี ๆ ผ่าน “๕ ห้องชีวิต เนรมิตนิสัย” ๒๕ อยู่ในบุญ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More