อักษรธรรมอิสานและการสร้างสรรค์หนังสือใบลาน วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 หน้า 71
หน้าที่ 71 / 140

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับความคล้ายคลึงกันระหว่างอักษรธรรมอิสานและอักษรธรรมล้านนา ในข้อความที่เกี่ยวข้องกับการแปลและความสำคัญของภาษาในอิสาน ปัจจุบันพบเอกสารที่แสดงถึงความรุ่งเรืองในอดีต เช่น หนังสือใบลานที่บันทึกคดีต่างๆ รวมถึงพระพุทธศาสนา โดยมีการเก็บรักษาอย่างพิถีพิถันทั้งในบ้านและวัด ซึ่งสะท้อนถึงวัฒนธรรมและการศึกษาท้องถิ่นที่มีความหลากหลาย

หัวข้อประเด็น

-ความคล้ายคลึงของอักษร
-ความสำคัญของหนังสือใบลาน
-ประวัติศาสตร์ภาษาอิสาน
-วัฒนธรรมและการจารึกในอิสาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

รอยาวจ รางเจา มูจา มูจา (อักษรธรรมอิสาน) คำแปลว่า นิน ตสุส ถวิลโต สมุท สุพุทธสุ ความคล้ายคลึงกันระหว่างอักษรธรรมอิสานและอักษรธรรมล้านนา ในข้อความว่า นิน ตสุส ถวิลโต อรโณด สมุท สุพุทธสุ ปัจจุบันในแดนถิ่นอิสานยังพบภาษาผู้คนที่เป็นหลักฐานความรุ่งเรืองเมื่อครั้งอดีต มีกั้งหนังสือผอมหรือเลานก้อม คือ หนังสือใบลานขนาดเล็ก ความยาวประมาณ ๑ ฟุต จารึก คดีทางโลก เช่น คาถาอาคม ตำรา ยา หรือพิธีกรรม เป็นหนังสือส่วนบุคคลที่นิยมเก็บไว้ตามบ้าน และหนังสือผูก หรือเลานผูก ซึ่งจารจากคดีทางธรรม เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา จัดเก็บรักษาตามวัดอาโทราม ลักษณะการวางและการเก็บรักษา หนังสือใบลานให้อ่านโดยกำดวณธรรม ท้องถิ่นรวมทั้งวัดคุ้มโลปแบบ หลากหลายที่คนสมัยก่อนประดิษฐ์ขึ้น เพื่อรับคำอธิฐานให้เหมาะสม ประโยชน์ใช้สอยอีกด้วย ภาพเปรียบเทียบขนาดเลานผูกและเลานก้อม กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ ๑๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More