ศิลปะและวัฒนธรรมการดูแลคัมภีร์ใบลาน วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 หน้า 74
หน้าที่ 74 / 140

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการเก็บรักษาคัมภีร์ใบลานและวิธีการที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยเฉพาะในสมัยล้านช้าง รวมถึงการประยุกต์ใช้คัมภีร์ใบลานในชีวิตประจำวัน รวมถึงความสำคัญของการสร้างรูปแบบการมรดกทางวัฒนธรรมในกรุงเทพฯ ที่ช่วยให้คนรุ่นหลังเข้าใจในคำสอนของพระพุทธองค์ผ่านศิลปวัตถุและการจัดการทางวัฒนธรรม ตลอดจนเสน่ห์ของห้องโถงและการก่อสร้างอาคารในวัด รวมถึงเทคนิคการดูแลรักษาคัมภีร์ใบลานให้คงอยู่ในสภาพที่เหมาะสม โดยยกตัวอย่างการถ่ายภาพและการจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์วัดคูหาสร้าง จังหวัดอุดรฯ. ข้อมูลที่สำคัญได้แก่การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการดูแลคัมภีร์ใบลานที่มีคุณค่าทางศิลปะและประวัติศาสตร์.

หัวข้อประเด็น

-การเก็บรักษาคัมภีร์ใบลาน
-วัฒนธรรมไทย
-พระพุทธศาสนา
-ศิลปวัตถุ
-การศึกษาในที่ประวัติศาสตร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กากะเยียและค้านะเยีย...วัตถุกิลป์ รูปแบบของวัฒนธรรมท้องถิ่นตาม สมัยนิยม มีแนวคิดโดดเด่นเฉพาะตนในการ ดูแล เก็บรักษา และวิธีการนำคัมภีร์ราม เล่าเรียนอ่านเขียน เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ที่อนุไปไกลถึงสมัยล้านช้าง สืบทอดต่อมา ให้ลูกหลานแห่งกรุงเทพมหานครได้เห็นถึง ความเคารพบรรพกษ์ที่เปี่ยมล้นในพระพุทธ- ศาสนา และไม่ว่าพระพุทธศาสนาจะไปป่าหลัก อยู่ ณ ถิ่นใด การทุ่มเทสติปัญญาสร้างรูปแบบ ในการถ้ำไว้ซึ่งคำสอนของพระพุทธองค์ ให้ลดคล้องกับวัฒนธรรมพื้นถิ่นแต่ละแห่ง เป็นกระจกสะท้อนให้บทคำสอนที่จารึก ในคัมภีร์ใบลานมาประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินชีวิต และมองศิลปวัตถุเป็นมรดกศิลป์ แบบอย่างแห่งศรัทธาที่อบให้ด้วย ความเมตตาตาของบรรพบุรุษ ห่อผ้าดั๊งก็รีใบนานขั่นกะเยียบานใหญ่ ภายในห้องโถง ณ หอไตรกลาง วัดคูหาสร้าง จังหวัดอุดรฯ ทรงเครื่องแบบสกุลช่างพื้นเมือง แบบชาวหลวง สถาปัตย์กรรม รวมทั้ง การทำผนังลูกกรงโบราณในห้องโถงช่วยระบาย อากาศจากสะระน้าโดยรอบ ช่วยยืดอายุใบลาน ให้อยู่ในสภาพอากาศที่เหมาะสม ติ๊ก แสนบุญ, พุทธศาสนปิ๑สาน เนื่องในวัฒนธรรมทางภาษาของ “คัมภีร์ใบลาน”, ๒๕๕๒.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More