การจัดเก็บใบลานและขั้นกะเยี ยแบบวัดในอีสาน วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 หน้า 73
หน้าที่ 73 / 140

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการจัดทำขึ้นกะเยี ยสำหรับวางใบลานจำนวน ๕ มัดที่วัดเกษมสำราญ จังหวัดอุบลราชธานี มีการอธิบายถึงการใช้มันกะเยี ยขนาดใหญ่ที่ช่วยเก็บรักษาคั้มภีร์ใบลานให้มีอายุการใช้งานยาวนานโดยการควบคุมอุณหภูมิและความชื้น การออกแบบขั้นบันไดที่วัดมหาราช จ.ยโสธรที่มีลักษณะและศิลปะที่สวยงามของการแกะสลักล้านช้าง

หัวข้อประเด็น

-การจัดเก็บใบลาน
-อุปกรณ์วางใบลาน
-ความสำคัญของอุณหภูมิและความชื้น
-ศิลปะล้านช้าง
-วัดในอีสาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ขึ้นกะเยี ยแบบอย่างขึ้นบันได ณ วัดเกษมสำราญ จ.อุบลราชธานี สำหรับวางใบลานจำนวน ๕ มัด นอกจากยังมีมันกะเยี ยขนาดใหญ่ เป็นอุปกรณ์ว่างคั้มภายใบลานเพื่อการจัดเก็บ เป็นเสมือนดูเก็บคั้มภีร์ใบลาน มีลักษณะเป็นขั้นบันได คั้มภีร์สร้างไว้ภายในห้องโถงกลางทอใตร สามารถวางคั้มภีร์ได้เป็นจำนวณมาก ความสูงของขั้นบันไดอยู่กับความสูงของหลังคาใตร ซึ่งสัมพันธ์กับระบบระบายอากาศ ที่ช่วยควมคุมอุณหภูมิความชื้นจากสระน้ำโดยรอบที่มีขุนดูดไร้รอยต่อไต่ทรงให้ใบลานไม่เหี่ยงกรอบเนื่องจากความร้อนของสภาพอากาศ ขั้นกะเยี ยสายสุดชั้นพืนเมืองแบบช่างลาวหลวง ณ วัดมหาราช จ.ยโสธร เป็นหนึ่งในวัดคิลป์ถิ่นอีสาน ที่มีความงดงามสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่ง มีลักษณะโล่เทียนเหงียนกะเยี ยไว้นับหลัง และส่วนยอดประดับด้วยลวดลายแกะสลักแบบศิลปะล้านช้าง กุมภาพพ้น ๒๕๕๘ อยู่ในบุญ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More