การฝึกสมาธิและการตื่นรู้ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 หน้า 125
หน้าที่ 125 / 140

สรุปเนื้อหา

การฝึกสมาธิเริ่มต้นจากการตั้งใจที่ศูนย์กลางกาย ซึ่งนำไปสู่การเกิดดวงธรรมและการเข้าถึงนิพพานได้ในทุกอิริยาบถ เทคนิคการกำหนดจิตพร้อมกับบริกรรมผ่านการน้อมไปยังศูนย์กลาง ทำให้จิตใจสงบและอิ่มเอิบ รวมถึงการสร้างความสุข ความเจริญในชีวิต การฝึกที่สม่ำเสมอจะเป็นปัจจัยส่งเสริมให้สามารถดำรงชีวิตในศีลธรรมและทำให้เกิดสันติสุขในสังคมต่อไป

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสมาธิ
-การตื่นรู้
-แนวทางการเข้าถึงนิพพาน
-ความสุขจากการเจริญสมาธิ
-การดำรงชีวิตในศีลธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดวงเล็ก ๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อย ๆ ใจจะปรับจนไม่บังคับ ทำได้แค่ไหนให้หัวใจแค่นั้น สิ่งจะหยุดได้ก็คือเกิดการตื่นศูนย์และเกิดดวงสว่างขึ้นมาแทนที่ ดวงนี้เรียกว่า “ดวงธรรม” หรือ “ดวงปฐมมรรค” อันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเปิดไปสู่องค์แห่งมรรค ผล นิพพาน การรลึกถึงนิพพานสามารถทำได้ในทุกแห่ง ทุกที่ ทุกอิริยาบถ ไม่ว่าจะนอน ยืน เดิน หรือขณะทำกิจใด ๆ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้สมอเป็นประจำ ทำเรื่อย ๆ ทำอย่างสบาย ๆ ไม่รีบร้อน ศูนย์กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอริยาบถใด ก็ตาม เช่น ยืนดีดี เดินดีดี นอนดีดี หรือยันต์กิริยาอาการที่จัดไปไว้ที่นี่เป็นอันขาด ให้ตั้งใจบริกรรมวาวนา พร้อมกันถึงบริกรรมมติเป็นดวงแก้วใสควบคู่ตลอดไป 5. นิมิตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จะต้องน้อมไปตั่งไว้ที่ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้านิมิตเกิดขึ้นแล้วหยาบไปไม่ต้องตามหา ให้วานาประคองใจต่อไปตามปกติ ในที่สุดเมื่อจิตลง นิมิตอ่อนปรกฤษึ้นใหม่อีก การฝึกสมาธิิ่งต้นเท่าที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้พลิก สมควร เมื่อตัอชองปฏิบัติอยู่เสมอ ๆ ไม่ทอดทิ้งแล้วได้รองปรรมมรรคนั้นไว้ตลอดชีวิต ดำรงอยู่ในศีลธรรมอันดี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า ได้พึงของชีวิตที่ถูกต้องดัง จะส่งผลให้ผู้อิ่มความสุขความเจริญ ทั้งในภาคดีนี้และภาคหน้าหากสามารถนำต่อ ๆ กันไป ขยายไปยังเหล่ามนุษยชาติต่อไปอย่างไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ์ สันติสุขลุมใผบูรณ์ที่สุดคนใดฝันก็ย่อมบังเกิดขึ้นเอง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More