วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มิถุนายน พ.ศ.2558 หน้า 124
หน้าที่ 124 / 140

สรุปเนื้อหา

สมาธิ คือ ความสงบที่สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง โดยเริ่มจากการกราบขอพระรัตนตรัยและสมาทานศีล ๕ หรือ ๘ ต่อมาให้คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบเพื่อระลึกถึงคุณงามความดี และนั่งขัดสมาธิตามแนวทางที่ถูกต้อง ดังนี้ นึกถึงดวงแก้วกลางใส แล้วให้นั่งนิ่งเพื่อเข้าสู่ความสงบ เมื่อมีนิมิตเกิดขึ้น ให้วางอารมณ์สบาย หากนิมิตมาหยุด ให้รวมสติไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต จนพบความสงบ นี่คือการฝึกสมาธิเบื้องต้นที่จะช่วยให้ชีวิตมีความสบายและสุขกับการดำรงชีวิตอย่างมีสติและปัญญา.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสมาธิ
-วิธีการฝึกสมาธิ
-ความสำคัญของสมาธิในชีวิตประจำวัน
-การสร้างความสงบในจิตใจ
-ขั้นตอนการเข้าสู่ภาวะสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เติมเต็มด้วยสติสมาธิและปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ดังวิธีปฏิบัติต่อไปพระเดช-พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทโล) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เมตตาสอนไว้อย่างนี้ ๑. กราบขอพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้มั่นคงไว้เป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพื่อยึดความมั่นคงในคุณธรรรมของตนเอง ๒. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบาย ๆ ระลึกถึงคุณงามความดี ที่ได้ทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนร่างกายทั้งหมดประกอบด้วยอุดมณ์คุณงามความดีล้วน ๆ ๓. นั่งขัดสมาธิ ขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ขี้อิ่งมีอั่งขวดตรงหัวเข่าแม้มือข้างซ้าย นั่งให้อยู่ในท่าที่ดี ไม่ฝืนร่างกายมากจนเกินไป ไม่งั้นก็เกร็ง แต่ยังให้หลังไหล่ลง หลับตาพอสมควรคลายกับกำลังพักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนื้อด้านข้างหรือขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจนั่ง วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่า กำลังจะเข้าไปสู่สภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง ๔. นึกกำหนดนิ่งเป็น “ดวงแก้วกลางใส” ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใสบริสุทธิ์ ปราศจากรอยดำหนิติ ด ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดังประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมมนิมิตนิสัย ๆ นึกเหมือนดวงแก้วนี้นั่งนิ่งอยู่ ณ ศูนย์กลางกาย อนันต์ ไปอย่างนุ่มนวล เป็นพุทธานุภาพว่า “สัม มา อระหัง” หรือ ๕. นั่งนิ่งดวงแก้วกลมใสให้ค่อย ๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวราบ โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นไปในนิมิตอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กันด้วยความควน ò ยง เมื่อมึดดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ไหวอารมณ์สบาย ๆ กับนิ่งนั้นจนเหมือนกับว่าวงมิดเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงมิดนั้นอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนิ่ง เสียใจ ให้วางอารมณ์สบาย แล้วนิ่งนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่เทดงดวงเก่า หรือเมื่อมิดนั้นไปปรากฏ ที่อื่น ที่มีอยู่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อย ๆ น้อมนิยมเข้ามาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีรั้งบังคับ และเมื่อ นิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วงสติรวมไปยังจุดศูนย์กลางของดวงมิด ด้วยความรู้สึกคล้ายมีดวงดาวดวงเล็ก ๆ อีกดวงหนึ่ง ซ้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More