เส้นทางการบวชของพระอาจารย์ปรมัย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559 หน้า 47
หน้าที่ 47 / 132

สรุปเนื้อหา

เรื่องราวการบวชของพระอาจารย์ปรมัยเริ่มต้นจากความสนใจศึกษาธรรมตั้งแต่เด็ก ถึงแม้จะมีเส้นทางการเรียนปรัชญาเอกในต่างประเทศ แต่สุดท้ายท่านตัดสินใจบวชเมื่ออายุ ๒๕ ปี ถือเป็นการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่า หลังจากบวช ท่านพบว่าชีวิตสงบเย็นและมีความรู้สึกอิสระจากชีวิตทางโลกได้อย่างมาก การปฏิบัติธรรมช่วยให้ท่านเห็นคุณค่าของศีลและความสำคัญในชีวิต เชื่อว่าการบวชเป็นหนทางที่ดีที่สุดสำหรับการสร้างบุญบารมีและพัฒนาตนเองให้ดียิ่งขึ้น

หัวข้อประเด็น

-เส้นทางการศึกษาและการบวช
-การค้นหาความหมายในชีวิต
-การปฏิบัติธรรมและการสร้างบุญ
-ความแตกต่างของชีวิตทางโลกและทางธรรม
-การใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ก่อนไปศึกษาปรัชญาเอกที่ประเทศนอร์เวย์ พระอาจารย์ปรมัยจะงัวร์พระธรรมกายเป็นครั้งแรก ตอนนั้นท่านยังไม่ได้คิดเรื่องบวชเลย แต่ในฐานะชาวพุทธที่มี “บิ๊บ” (Chip) ของความเป็นพุทธฝังอยู่ในตัว ด้วยการหล่อหลอมผ่านวัฒนธรรมประเพณีแบบไทย ๆ ทำให้ท่านสนใจที่จะศึกษาทางธรรมอยู่แล้วตั้งแต่เด็ก ส่วนเรื่องการบวชนั้น ท่านคิดว่า “เอาไว้ตอนอายุมากดีกว่า” ขอไปมีครอบครัวก่อน ลูกโดแล้วค่อยบวชก็ยังไม่สาย แต่งไม่ทันได้อายุมากและยังไม่ได้มีครอบครัวอย่างที่คิดเอาไว้ท่านก็ออกบวชเสียก่อน ทั้งที่นวดทางโลกแค่ใสมมากตอนเรียนปรัชญาเอก (พ.ศ. ๒๕๔๗- ๒๕๕๕) ท่านได้ทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัย คิดเป็นเงินไทยเดือนละแสนกว่าบาท ปัจจุบันเพื่อนรุ่นเดียวกันที่ทำงานอยู่ต่างประเทศได้เดือนคณะหลายแสน ตัวท่านเองก็เคยคิดจะทำงานในต่างประเทศเหมือนกัน หรือถ้าย้ายเมืองไทยก็จะเปิดบริษัทของตัวเอง ยิ่งประมาณอยู่เมื่อใกล้บวชก็เลยมีความจริงของชีวิตที่แตกต่างกันไปอีกแบบหนึ่งขึ้นอยู่กับมุมมองแต่ในที่สุดก็ได้บวชเมื่ออายุประมาณ ๒๕ ปีแล้ว นั่นคือปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ในช่วงที่ตัวเองยังไม่บวชนั้น ท่านเคยคิดว่า “ตอนที่เรียนปรัชญาเอก หลวงพ่อเริ่มศึกษาธรรมจากการ Case Study ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง DMC พบว่าตัวเองยังประมาณอยู่มาก ตอนนั้นกำลังจะเรียนจบปรัชญาเอก เมื่อใกล้บวชก็พบว่า ตัวเองไม่ได้มีความรู้จะอะไรนักเลย โดยเฉพาะเรื่องความจริงของชีวิต แต่กลับมีลักษะเสี้ยเยิย เกิดขึ้นอีกเพียบ เช่น ขี้หดหด ฟุ้งซ่าน รำคาญใจ ยิ่งนั้นยิ่งอับสยามในตัวเอง ยิ่งหลังจากศึกษาธรรมะระดับหนึ่ง ก็เริ่มเข้าใจความแตกต่างของชีวิตทางโลกกับทางธรรมมากขึ้น และรู้ว่าชีวิตนี้เกิดมากอะไร หลวงพี่จีมเป้าหมายในการดำเนินชีวิตที่ชัดเจนว่าต้องออกบวช เพราะการอยู่ในเพศสมณะจะทำให้เราใช้ชีวิตได้อย่างมีคุณค่าที่สุดและคุ้มค่าที่สุดสำหรับการเกิดมาในชาติถัดไปนี้ หลวงพี่คิดว่าถ้าถึงเวลาเท่าไหร คือ ตัดใจเสียทีดีกว่า เพราะถ้าไม่เริ่มบวชตอนนี้ จะไปรอวุ่นวันหน้าก็ไม่มีหลักประกันอะไรเลยว่าโอกาสนั้นจะมาถึง การบวชของพระอาจารย์ปรมัยมีความเป็นมาเป็นไปแบบนี้ ซึ่งดูแล้วห่างไกลจากคำว่าจ “บวชนโลก” ในแนวของผู้พ่ายแพ้ต่อชีวิตมากนัก หลังจากบวชอุปสมบทแล้ว ชีวิตที่สงบเย็นได้มาคร่วมภาพพลัดพลั่น เท่ากับบ่มเพาะศีล สมาธิ ปัญญา ทำให้พระอาจารย์ปรมัยบวชต่อเนื่อง อีกทั้งเมื่อมองกลับไปยังชีวิตในอดีต ก็รู้สึกว่ามไม่ได้อยากกลับไปมีชีวิตแบบนั้นอีกแล้ว มองเห็นถึงความดำแคบในความคิด และโอกาสในการสร้างบุญบารมีดีๆ คิดดดึงติดไปหมด และชีวิตสมณะทำให้รู้สึกอิสระ ซึ่งก็แปลกเพราะตอนแรกนึกว่า การต้องปฏิบัติธรรมบาป ๒๒๗ ข้อจะทำให้อดอยาก เพราะปกติหลวงพี่ไม่ชอบทำอะไรตามกรอบ แต่เมื่อได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของศีลและปฏิบัติ ตาม กลับทำให้รู้สึกถึงความปลอดโปร่งใจที่มีอยู่จำกัด พฤศจิกายน ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ ๕๔
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More