การศึกษาแหล่งคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559 หน้า 65
หน้าที่ 65 / 132

สรุปเนื้อหา

การออกสำรวจแหล่งคัมภีร์ใบลานในประเทศไทยเผยให้เห็นถึงการบันทึกเรื่องราวในอดีตที่สำคัญ รวมถึงเรื่องราวทางศาสนาและวรรณคดี การเก็บรักษาสมุดไทยที่ทำขึ้นตั้งแต่สมัยพระนารายณ์มหาราช โดยเฉพาะพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ที่ถือเป็นหลักฐานสำคัญในประวัติศาสตร์ไทย ซึ่งบันทึกเหตุการณ์สำคัญของกรุงศรีอยุธยาไว้ นอกจากนี้ยังมีการใช้วัสดุหลากหลายในการผลิตกระดาษและการสร้างสมุดไทยที่มีความแตกต่างกันตามภูมิภาคอีกด้วย และการศึกษานี้จึงสำคัญในการอนุรักษ์มรดกทางวรรณกรรมและวัฒนธรรมของไทยที่อุดมไปด้วยประวัติศาสตร์.

หัวข้อประเด็น

-การสำรวจคัมภีร์ใบลาน
-ความสำคัญของสมุดไทย
-ประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา
-การผลิตกระดาษในไทย
-วรรณคดีพื้นบ้านไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การออกสำรวจแหล่งคัมภีร์ใบลานในจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทยทำให้พวกนอกจากงานหนังสือใบลานที่ธรรมบรรไทยนำไปจากต้นลำมาใช้จนจริงเรื่องราวต่าง ๆ แล้วหลายครั้งยังพบสมุดไทยเก็บรักษารวมไว้ในหนังสือใบลานอีกด้วย แม้ส่วนใหญ่สมุดไทยมีความแก่ก็ดน้อยกว่าหนังสือใบลาน แต่ก็จัดเป็นแหล่งอิ้งสารพิษที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งบันทึกเรื่องราวในอดีต อท เรื่องราวทางพระพุทธศาสนา ตำราขาศาสตร์ ตำราพิไลงคราม ตำรไตรศกาตร์ และวรรณคดีพื้นบ้าน เป็นต้น มีสมุดไทยฉบับหลวงที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น และฉบับราษฎร์ที่สร้างโดยพระภิญญาสงฆ์หรือชาวบ้านทั่วไปสำหรับสมุดไทยที่เป็นฉบับหลวงนั้นมีความดงามอย่างยิ่ง ด้วยเป็นผลงาน พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงพระเสาร์อรัญดิ์ สร้างในปี พ.ศ. ๒๒๒ สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นสมุดไทยฉบับเก่าแก่ที่สุด เก็บรักษาไว้ ณ ห้องสมุดแห่งชาติ บันทึกเหตุการณ์ตั้งแต่แรกสถาปนากรุงศรีอยุธยา จนถึงรัชสมัยของสมเด็จพระนรทรมหาราช ซึ่งสามารถใช้เป็นหลักฐานสำคัญอ้างอิงได้ว่า สงครามไทยน่ารู้จักพระฉันท์ตะกะดาษเพื่อใช้บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ มั้งแต่ก่อนสมัยอยุธยาตอนกลาง โดยเนื้อหาตบกรบรรพบุรุษไทยผลิตกระดาษจากเยื่อไม้ของพันธุ์ไม้พื้นบ้านที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น จึงเป็นที่มาของชื่อเรียกสมุดไทยที่แตกต่างกันไปตามวัสดุที่นำมาใช้ สมุดไทยที่ทำจากเปลือก ซึ่งเป็นวัสดุที่ใช้ง่าย กระดาษทั่วไปในหลายภาค เรียกว่า สมุดย่อย ส่วนสมุดไทยที่ทำจากเปลือกต้นสา เรียกว่า “พันสา” เป็นที่นิยมในภาคเหนือ ชาวเหนือออกเสียงว่า “ปั้นสา”
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More