การค้นพบพระธรรมจักรสีลาในนครปฐม วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559 หน้า 54
หน้าที่ 54 / 132

สรุปเนื้อหา

การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ "พระธรรมจักร" หรือ "พระธรรมจักรสีลา" ที่ค้นพบในนครปฐมเผยให้เห็นถึงความสำคัญทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี โดยมีการกล่าวถึงผู้ค้นพบในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๙ รวมถึงการวิจัยโดยศาสตราจารย์ยอร์ช เชอร. เผยให้เห็นถึงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ชี้ให้เห็นถึงการเผยแผ่ของพระพุทธศาสนาในสุวรรณภูมิ และอักษรโบราณที่พบได้แก่ "ยะ มญฺม" ที่แสดงถึงความละเอียดของการแกะสลัก.

หัวข้อประเด็น

-พระธรรมจักรสีลา
-นครปฐม
-โบราณคดีไทย
-ศิลาจารึก
-ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การศึกษาข้อมูลหลักฐานที่เกี่ยวข้องนั้นมีว่า "พระธรรมจักร" หรือ "พระธรรมจักรสีลา" ที่มีการค้นพบแก่กันที่สุดนั้น พบอยู่ในบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม ซึ่งมีจำนวนมากมายหลายชิ้น และแต่ละชิ้นมีการแกะสลักฉลุลายที่แตกต่างกันออกไป ในที่นี้มีเรื่องราวการค้นพบและการเผยแพร่กล่าวอ้างถึงเป็นครั้งแรกในราวปี พ.ศ. ๒๔๙๙ โดย Mr. L. Fourneareau และต่อมา Mr. Pierre Dupont นักสำรวจดูค้นทางโบราณคดี ภาพพระธรรมจักรที่ค้นพบจังหวัดนครปฐมในปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑ์สำราญของพระองค์เจ้ารพวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามงกุฎพันธุ์ยุดล ภาพประกอบหนังสือประชุมศิลาจารึกนี้มีฐานะเกี่ยวกับธรรมจักรในศิลาจารึกเรียนรู้โดยศาสตราจารย์ ยอร์ช เชอร (George Coedes) นักประวัติศาสตร์โบราณคดีชาวฝรั่งเศส กล่าวถึงท่าน ศาสตราจารย์ออร์ช เชอร ซึ่งท่านไม่เพียงแต่เป็นนักประวัติศาสตร์โบราณคดีค้นพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญๆ โดยทั่วไปเท่านั้น แต่ท่านยังเป็นผู้ค้นพบหลักฐาน "คฑาธรรมญา" ที่จารึกเป็นอักษรขอมโบราณอีกด้วย โดยภายหลังจากที่ค้นพบ "คฑาธรรมญา" ในปี ค.ศ. ๑๙๔๙ แล้ว ท่านได้มาศึกษาถอดความและเรียกชื่อคำรัษนั่นใหม่ว่า "ธมฺมกายสุด อุตฺตจนฺณนา" (การอธิบายความหมายเกี่ยวกับธรรมกาย) ด้วยการค้นพบ พระธรรมจักรสีลา นั้น ควรกล่าวได้ว่ามีความสำคัญหลายประการ คือในด้านหนึ่ง การค้นพบนี้ทำให้เราราบว่าพระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้าไปในสุวรรณภูมิ ตั้งแต่แรกจนถึงรวทศวรรคตอนที่ ๑๑ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ ปีมาแล้ว ดังนั้นบริเวณพื้นที่องค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม น่าจะเป็นพื้นที่สำคัญของดินแดนสุวรรณภูมิ ประกการต่อมาคืออธิบายว่า "พระธรรมจักรสีลา" ดังกล่าวซึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๔๕ ซม. สูง ๑.๐๙ เมตร (รวมฐาน) นี้ ได้มีเพียงลวดลายทางประกอบกรรมธรรมชาติพิษฐาน บนแต่เพียงอย่างเดียว แต่ยังปรากฏรากอักขระบาลสี่ลักษณ์ ๗ บนเป็นตอน ๆ อยู่ทางด้านหน้าของตัวพระธรรมจักรด้วย ซึ่งศาสตราจารย์ออร์ช เชอร ได้วิเคราะห์ไว้ว่า ตัวอักขระที่ใช้ลักษณะบนศิลาทั้งหมดล้วนมีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรในรัษนาค "ยะ มญฺม" ที่คนพบในพื้นที่เดียวกันนี้อย่างมาก เพียงแต่ข้อความทั้งหมดที่พบบนพระธรรมจักรสีลานี้ มี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More