ความสะอาดในชีวิตประจำวัน วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2560 หน้า 78
หน้าที่ 78 / 132

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของความสะอาดในหลายมิติ ไม่เพียงแต่ความสะอาดภายนอกเท่านั้น แต่ยังรวมถึงความสะอาดภายในของความคิด คำพูด และการกระทำ โดยเน้นถึงลักษณะของคนที่มีจิตใจสะอาดและไม่มีความเห็นแก่ตัว สรุปว่าคนที่เป็นกลางคืนในการกระทำและคิดเพื่อส่วนรวม เป็นคนที่น่ายกย่องในสังคม ในขณะที่คนที่คิด ทำ และพูดเพื่อประโยชน์ตนเองนั้นเป็นคนที่ไม่สะอาด และเป็นที่รังเกียจ

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของความสะอาด
-ลักษณะของคนสะอาด
-การกระทำที่มีคุณธรรม
-การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อัตตุตบทปุณญา อสุจิ มนุษสา. มนุษย์ผู้เห็นแต่ประโยชน์ตน เป็นคนไม่สะอาด (บ.ส. ๒๕/๓๓๓๙) ความสะอาด ใคร ๆ ก็พอปรากฏนา ความไม่สะอาด ใคร ๆ ก็ไม่พึงปรารถนา ความสะอาดของสถานที่ เสื้อผ้า สั่งของ เป็นเพียงความสะอาดภายนอก เป็นความสะอาดผิวเผิน ความสะอาดที่สมบูรณ์ นอกจากสะอาดภายนอกแล้ว ยังสะอาดลึกถึงกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม คือ มีการกระทำสะอาด คำพูดสะอาด จิตใจสะอาด คิดดี พูดดี ทำดี เป็นปกติ ไม่เป็นคนเห็นแก่ตัว ยอมเสียสะเพื่อส่วนรวม "คิด" ก็คิดเพื่อส่วนรวม "พูด" ก็พูดเพื่อส่วนรวม "ทำ" ก็ทำเพื่อส่วนรวม คนอย่างนี้จัดเป็น "คนสะอาด" ที่น่ายกย่อง ส่วนใครที่มีพฤติกรรมตรงกันข้าม คิดร้าย พูดร้าย ทำร้าย เป็นปกติ เห็นแก่ประโยชน์ตน ไม่ยอมเสียสะเพื่อส่วนรวม "คิด" ก็คิดเพื่อประโยชน์ตน "พูด" ก็พูดเพื่อประโยชน์ตน "ทำ" ก็ทำเพื่อประโยชน์ตน คนอย่างนี้จัดเป็น "คนไม่สะอาด" ที่น่ารังเกียจ มาเป็น "คนสะอาด" ที่โลกต้องการ ดีกว่าเป็น "คนไม่สะอาด" ที่โลกต้องเกลียดกันเกิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More