ข้อความต้นฉบับในหน้า
วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น
สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างหนึ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติปััญญา และปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ดังวิธีปฏิบัติพระเดช-พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺโท) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษเจริญ เมตตาสอนไว้ดังนี้
๑. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้นุบวะไว้เป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพื่อย้ำความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง
๒. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบาย ๆ ระลึกถึงความดี ที่ได้กระทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนรวมกับร่างกายทั้งหมดประกอบขึ้นด้วยฤทธ์แห่งคุณงามความดี ล้วน ๆ
๓. นั่งตัวตรงสบาย เขาวางบนแขน ขาขวาทับมือซ้าย นี่จะขอมีข้างขวาทับด้านบนมือซ้ายข้างซ้าย นั่งให้อยู่ในท่าที่พอดี ๆ ไม่มีแรงกายมากจนเกินไป ไม่กดบีบเกร็ง แต่อย่าให้หลังโค้งหลับตาพอสบาย คลายๆ กับลำพังพักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนื้อตำหรือบวมตัว แล้วตั้งใจมั่น วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่า กำลังจะเข้าไปสู่ภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง
๔. นึกกำหนดนิมิตเป็น “ดวงแก้วกลมใส” ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใสบริสุทธิ์ ปราศจากรอยตำหนิใด ๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดั่งประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมธมินิตนามาย ๆ นักเหมือนดวงแก้วนั้นมานั่งนิ่งอยู่ ณ ศูนย์กลางกายของตนเอง
นึกไปวางไปอย่างนุ่มนวล เป็นพุทธวจนว่า “สัมระหัง” หรือ “อชานะ” น้อมนึกดวงแก้วกลมใสให้ค่อย ๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นไปใน น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับคำาว่า อันถึง เมื่อนิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ไหวอารมณ์สบาย ๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่าดวงมินเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงมินนั้นอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนิทรอใด ๆ ไว้ ๆ ไหวอารมณ์สบาย แล้วนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มีศูนย์กลางกาย ให้ค่อย ๆ น้อมนิมิตเข้ามาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีการบังคับ และเมื่อนิมิตหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วงสีดั่งใดจุดศูนย์กลางของดวงมินด้วยความรู้สึกคล้ายเป็นดวงดวงเดียวกัน อีกดวงหนึ่ง ช้อนอยู่ตรงกลางดวงมินดวงเดิม แล้วสนใจแต่
อยู่ในบุญ พฤษภาคม ๒๕๖๐