การฝึกสมาธิเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2560 หน้า 117
หน้าที่ 117 / 132

สรุปเนื้อหา

การฝึกสมาธิเพื่อเข้าถึง ‘ดวงธรรม’ เป็นวิธีที่ไม่ได้เหมาะสำหรับการนั่งในท่าเฉพาะ แต่สามารถทำได้ในทุกอิริยาบถ เมื่อลงมือฝึก ควรระวังอย่าใช้กำลังมากเกินไปและไม่เร่งรัดตัวเองจนเกินไป การไม่นึกถึงผลหรือความกังวลที่จะเห็นนิมิตช่วยให้ใจสงบ อีกทั้งเมื่อเสร็จสิ้นการนั่งสมาธิแล้วควรตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายทั้งในอิริยาบถต่างๆ ความเสมอต้นเสมอปลายในการฝึกสมาธิสามารถนำไปสู่ความสุขและการเจริญเติบโตทางจิตวิญญาณในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสมาธิ
-ดวงธรรม
-ศูนย์กลางกาย
-การเดินจิตใจ
-การพัฒนาจิตใจ
-การนั่งสมาธิเบื้องต้น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดวงเล็ก ๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อย ๆ ใจจะปรับจนน ไม่บังคับ ทำได้แค่ไหนให้พอใจแค่นั้น ซึ่งจะ หยุดได้ถูกส่วน เกิดการคุมศูนย์และเกิดดวงสว่างขึ้น มาแทนที่ ดวงนี้เรียกว่า “ดวงธรรม” หรือ “ดวง- ปฐมมรรค” อันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเปิดไปสู่ ทางแห่งมรรค ผล นิพพาน การละลึกดงั นิธิสสามารถทำได้ใน ทุกแห่ง ทุกที่ ทุกอิริยาบถ ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน หรือทำภารกิจใด ๆ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้เสมอ เป็นประจำ ทำเรื่อย ๆ ทำอย่างสบาย ๆ ไม่รัง เกลียด หรือทนทำภารกิจใด ๆ ข้อควรระวัง ๑. อย่าใช้ลังก์ เพื่อใช้ในการลังก์ ๆ ทํ้ล้น เช่น ไม่มีบลามเนื้อเตาเพื่อให้เห็นนิมิตเร็ว ๆ ไม่รีบแขน หรือกล้ามเนื้อหน้าท้อง ไม่รีบร้อน ๆ ๆ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนไหนของร่างกายก็ตาม จะ ทำให้จิตเคลื่อนไหวจากศูนย์กลางกายไปสุุดนั่น ๒. อยากเห็น คือทำให้เป็นกลาง ประคองสติให้ผลออกจากบริการภาวนาและบริการมินิด ส่วนจะเห็นนิมิตเมื่อใดนั้น อย่ากังวล ถึงเวลาลั้ยอ่อนแน่น การบังเกิดของดงั นิมิตนั้นูปมาเสมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เรา ไมอาจจะเร่งเวลาได้ ๓. อย่ากังวลถึงการกำหนดลมมหาใจเข้า ออก เพราะการฝึกสมาธิเพื่อให้เข้าถึงพระธรรม- กายภายใน อาศยานนี้ถึง “โลกกสิณ” คือ กลิ่นแสงส่งร่างเป็นบาทเบื้องต้น เมื่อฝึกสมาธิ จนเข้าสู่ดวงปรุมบรรรแล้ว ผิวสมาธิต่อยไปผ่าน มายนุษย์ละเ้ดย ยกทิพย์ ยกรูปพรหม ยโตปพรหม จนกระทั่งเข้าสู่พระธรรมกาย แล้วจึงเจริญวิสาสนาในภายหลัง ดังนี้จึงไม่มี ความจำเป็นต้องกำหนดลมมหายใจเข้าออกแต่ ประการใด ๔. เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ตั้งใจไว้ที่ ศูนย์กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถ ใด ก็ตาม เช่น ยืนดีดี เดินดีดี นอนดีดี หรือกิริย อื่น ๆ ยึดฐานที่จิตใจจะอยู่ที่เป็นเน้น ให้ตั้งใจ บริกรรมภาวนา พร้อมกันถึงบริกรรมมินิดเป็น ดวงแก้วใสรูปลูกน้ำตาใด ๆ ตลอดไป ๕. นิมิตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จะต้องน้อม ไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้านิมิตเกิดขึ้นแล้ว หายไปไม่ต้องตามหา ให้วานานประคองใจต่อไป ตามปกติ ในที่สุดเมื่อจิตลง นิมิตย่อมปรากฏขึ้น ใหม่อีก การฝึกสมาธิเบื้องต้นที่ผ่านมา ทั้งหมดนี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้พอ สมควร เมื่อซ้ำซ้อนปฏิบัติอยูเสมอ ๆ ไม่ทอดทิ้ง จนได้ลงปรุมมรรคแล้ว ก็ให้หันประคองรักษา ดวงปรุมมรรคนั้นไว้ตลอดชีวิต ดำรงตนอยู่ใน คีสรธรรมนดี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า ได้พิง ของชีวิตที่ถูกต้องดีงาม จะส่งผลให้ผู้มีความ สุขความเจริญ ทั้งในเทพชาตินี้และชาต หน้า หากสามารถแนะนําต่อ ๆ กันไป ขยายไป ยังกัลามนุษย์ชาติ อย่างไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ์ สันติสุขอันไพบูลย์ที่ทุกคนใฝ่ฝัน ก็ย่อมบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน พฤษภาคม ๒๕๖๐ อยู่ในบุญ ๑๑๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More