ข้อความต้นฉบับในหน้า
คนไทยทุกชนชั้นต่างรู้จัก “พระธรรมกาย”
มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่สมัยครูอาจารย์
จบจนถึงมัยครูอรัยยามี
จบในสมัยครูอาจารย์ที่ ๓ (ดังปรากฏใน
การบรรเลงของ ดร.กิซชัย เอื้อญาม ไปเกี่ยวกับ
หลักฐานการปฏิบัติธรรมในศาสนาจักรไทย
ตั้งแต่ยุคคุรุไทยเป็นต้นมา) ทั้งนี้ ความเป็นที่
รู้จักเกี่ยวกับ “พระธรรมกาย” ดังกล่าวนี้ ยังมี
แบบแผนสนับสนุนมาถึงปัจจุบัน และสามารถ
เชื่อมโยงไปถึงความหมายที่แท้จริงด้วยว่า
“พระธรรมกาย” นี้ไม่มีสิ่งอื่น หากแต่เป็น
จุดมุ่งหมายในการปฏิบัติธรรมสูงนั่นเอง
๑) ดร.กิซชัย เอื้อญาม นักวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิของสถาบันฯ ได้เป็นตัวแทน
นำเสนอผลงานการศึกษาเรื่อง “The Abbot
Manuals : A Meditation Text in the Vajja
Dhammakaya” ซึ่งคัดมาจากบางส่วนของ
งานแปลง “คู่มือสมาธิ” โดยคณะนักวิชาการ
ของสถาบันฯ (หนังสือต้นฉบับเดิมเรียง
บันตั้งแต่พุทธศตวรรษ ๒๕๕๒ โดยอุบาสิกา
นวรัตน์ หิรัญรักษ์ และคณะ) ในส่วนของ
ดร.กิซชัยนั้น ตัวท่านเองเคยเป็นผู้นำเสนอ
ผลงานการศึกษาเรื่อง “พระธรรมภายใน
หลักฐานทางโบราณคดีของไทย” ที่ศาสตราจารย์
Kate Crosby แห่ง King’s College London
จัดขึ้นที่ประเทศอังกฤษ มาในฐานะนักวิจัย
ที่มีชื่อเสียงอย่างยิ่งยอดในวงการการศึกษาด้าน
ปฏิบัติธรรมมาอย่างต่อเนื่องจากจำนวนมาก
ทำให้เกิดความเข้าใจถูกต้องว่า “ในอดีตนั้น
๒) ดร.เจฟฟรี วิลสิน (Dr.Jeffrey
Wilson) นำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง “Narrative
Form in the Writing of Meditation Manuals”
(รูปแบบของการ narrarในคัมภีร์การปฏิบัติ
ธรรม) ซึ่ง ดร.เจฟฟรี วิลสิน ได้กล่าวใน
ที่ประชุมสัมมนาว่า “เป็นการจากที่จะอธิบาย
ประสบการณ์ภายในให้เข้าใจ (ด้วยเหตุนี้)
ในคัมภีร์ต่าง ๆ จึงได้พรรณนาเปรียบเทียบ
ประสบการณ์ภายในเหล่านี้ให้อตามาในรูป
*หนังสือคู่มือสมาธิเป็นหนังสือเกี่ยวกับหลักการปฏิบัติธรรมโดยละเอียดจากคำสอนของพระเดชพระคุณ-
พระมงคลเทพมุนี (สด จนทโล) ตั้งแต่ครั้งที่ผ่านมา คำว่า “สมาธิ”เป็นครูสอนสมาธิมานาน อาวาสมเด็จ-
พระวิจารณ์วัดพุทไธศวรรย์ ตามที่พระนั่งส่ง ต่อมาได้พิมพ์เป็นหนังสือออกสายให้ทางจ่าย
๒ ผลงานวิจัยเรื่อง “พระธรรมภายในหลักฐานทางโบราณคดีของไทย” นำเสนอเมื่อวันที่ ๓-๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
ในหัวข้อ Traditional Theravada Meditation ที่สำนักฝรั่งศิลป์แห่งปลายบูรพาทิศ ประเทศกัมพูชา