ศาสนสถานโบราณในเมียนมา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2561 หน้า 55
หน้าที่ 55 / 108

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับศาสนสถานโบราณในประเทศเมียนมา ที่รับอิทธิพลจากชมพูทวีปและประยุกต์ตามวิถีชีวิตของชาวปู โดยมีการพูดถึงสถาปัตยกรรมต่างๆ เช่น สถูปแห่งเมืองแตกทาโน และวิหารเบเบจ ซึ่งเป็นตัวอย่างที่สำคัญในการสะท้อนความรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาในสมัยพุทธศตวรรษที่ 6-10 รวมถึงประติมากรรมที่จารึกชื่อพระพุทธเจ้าและพระสาวก

หัวข้อประเด็น

-ศาสนสถานโบราณ
-พระพุทธศาสนาในเมียนมา
-สถาปัตยกรรมโบราณ
-เมืองแตกทาโน
-วิหารเบเบจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดังกว่าจะเห็นได้ว่ารูปแบบศาสนสถาน โบราณที่งดงามอยู่ในประเทศเมียนมาใน ปัจจุบันหลายแห่ง แม้แต่เคียงข้างกองเอง ก็มีได้โครงฐานจากศิลาปีกรามของ ชาวปู ซึ่งได้รับอิทธิพลด้านพระพุทธศาสนา และสถาปัตยกรรมจากชมพูทวีป เมื่ชาวปู รับอายธรรมอันดีมาแล้ว ก็ได้นำมาประยุกต์ ให้ลอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนได้อย่างลงตัว เช่น สถูปแห่งเมืองแตกทาโน (Beikthano) ที่ แสดงความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในยุค พุทธศตวรรษที่ ๖-๑๐ มีรูปทรงเป็นรง กระบอก คล้ายกับฃุปโมรา โมราดู แห่ง เมืองติกัล ปัจจุบันอยู่ในประเทศปกิศสถาน หรือวิหารเบเบจ (Bebe Gyi) และวิหาร เลเมียนทา (Limyethna) แห่งเมืองศรีเกษตร ก็เป็นต้นแบบการสร้างวิหารในสมัยพุทธาม เป็นต้น รูป Khin Ba แห่งศรีเกษตร จำนวน ๘๐ กว่าชั้น ขึ้นสำคัญ คือ ที่บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุจากเงิน มีความสูงถึง ปลายยอด ๑๖ ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ๘๐ ซม. มีประติมากรรมพระพุทธเจ้า ๔ พระองค์ ประทับนั่งบนฐานอันอิงบนขอบ จนขอบจารึก พระนามพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ คือ พระกุกมินนะ พระโกนาคมะ พระสำลีสบ พระโกดมะ และชื่อของพระสาวกองค์สำคัญ คือ พระกัสสะปะ พระสิลบัณฑะ พระโมคคลานะ และพระอานนท์ จารึกด้วยอักษรปุลูและภาษา บาลี ขอบด้านล่างจารึกชื่อผู้ถวาย ส่วนยอด ด้านบนคาดว่าน่าจะเป็นลำต้นของโพธิ์ ต้นไม้แห่งการครองธรรมของพระสัมมาสัม- พุทธเจ้า เพราะตรงนี้พงพีมีฐาน และไม้อันที่ทำจากเงินรังงาโปร่งกระจายอยู่ มกราคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More