อรากำทอง: วัตถุโบราณสำคัญของศรีษะเกษ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2561 หน้า 56
หน้าที่ 56 / 108

สรุปเนื้อหา

อรากำทองเป็นวัตถุโบราณที่มีความสำคัญได้รับการค้นพบที่สถูปแห่งเมืองศรีษะเกษ โดยมีลักษณะคล้ายมัดคัมภีร์โบราณที่ทำจากแผ่นทองคำ มีขนาดเล็กกว่าแต่มีจำนวนแผ่นลานถึง 20 แผ่น ข้อมูลภายในนั้นเป็นข้อความบางส่วนจากพระไตรปิฏก ซึ่งมีความสำคัญในการเปรียบเทียบภาษาบาลีในอดีตกับภาษาที่ศึกษาในปัจจุบัน Dr. Alexander Wynne ได้มีส่วนร่วมในโครงการพระไตรปิฏกฉบับวิชาการที่ให้เนื้อหาอันทรงคุณค่าและเป็นข้อมูลสำคัญด้านอธิวิธิ ความสำเร็จของการค้นพบนี้ทำให้เราเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมของภูมิภาคในอดีต ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอรากำทองสามารถศึกษาได้จากแหล่งที่มาได้แก่ Guy, J. (2014). Lost Kingdoms: Hindu-Buddhist Sculpture of Early Southeast Asia (Metropolitan Museum of Art). : Yale University Press.

หัวข้อประเด็น

-อรากำทอง
-วัตถุโบราณ
-พระพุทธศาสนา
-ภาษาบาลี
-ศิลปะโบราณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วัตถุโบราณที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นและมีความสำคัญอีกหนึ่งที่พบ ณ สถูปแห่งเมืองศรีษะเกษ คืออรากำทอง เพราะไม่เพียงแต่เป็นในลานที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองมา แต่ยังว่าเป็นในลานจารึกภาษาบาลีเก่าแก่ที่สุดของพระพุทธศาสนา มีลักษณะคล้ายมัดคัมภีร์โบราณที่เห็นในปัจจุบัน แต่มีขนาดเล็กกว่าและทำจากแผ่นทองคำแทนที่เป็นในจากต้นลาน คือ มีหน้าปก หลัง และแผ่นลานจำนวน ๒๐ แผ่น มีขนาดความกว้าง ๓ เซน. และความยาว ๑๖.๕ เซน. แต่ละแผ่นจะเจาะรูด้านบนไว้ร้อยแผ่นลานเข้าด้วยกันด้วยสายซึ่งทำจากทอง แล้วมัดรวมเข้ากับประกายเป็นมัด จารจาริกเนื้อความบางส่วนของพระไตรปิฏกสุมุปา เช่น คาถาปฏิจสมุปานิสมุนิษฐานว่ารสร้างในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๐-๑๒ ข้อความภาษาบาลีมีกำเนิดลายทองเป็นข้อมูลสำคัญด้านอธิวิธิ อีกทั้งยังเป็นหลักฐานสำคัญในการเปรียบเทียบภาษาบาลีในยุคอดีตและภาษาบาลีที่ศึกษาในปัจจุบัน Dr. Alexander Wynne ซึ่งเคยร่วมงานกับโครงการพระไตรปิฏก ฉบับวิชาการ เคยนำเนื้อหาภายในพระไตรปิฏกฉบับวิชาการมา ขอขอบคุณภาพประกอบและข้อมูลจาก Guy, J. (2014). Lost Kingdoms: Hindu-Buddhist Sculpture of Early Southeast Asia (Metropolitan Museum of Art). : Yale University Press. ๕๔ อยู่ในบุญ มกราคม ๒๕๖๑
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More