ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประดิษฐานในเจดีย์ชาววัง ศาสนสถานคู่บ้านคู่เมืองของประเทศเมียนมา สำหรับบความในตอนที่ 2 นี้ เป็นเรื่องราวของชาวปูย (Pyu) ซึ่งเป็นอีกชนชาติหนึ่งในช่วงประวัติศาสตร์เมียนมา ยุคต้น ที่มีความรู้เรื่องด้านพระพุทธศาสนาและอารยธรรม อันทั้งหลักฐานด้านอักษรศาสตร์หลายชนิดของชาวปูยยังเป็นประโยชน์ในการศึกษาภาษาบาลีที่เชื่อมโยงมาถึงปัจจุบัน
ภายในเมืองจะมีการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตโดยเด็ดขาด... ชาวปูยเป็นชนชาติแรกของเมียนมาที่มีอารยธรรมแบบสังคมเมือง มีการปกครองแบบนครรัฐ และได้ลาฎานนครรัฐขึ้นหลายแห่ง เมืองเก่าแก่ที่สุดคือเมืองเบกไทโน (Beikthano) ทางตอนกลางของดินแดนที่เป็นประเทศเมียนมาในปัจจุบัน สันนิษฐานว่ารสร้างขึ้นในช่วงก่อนพุทธศตวรรษต่อมา จึงสร้างที่เมืองมอนกะโม (Maingmaw) เมืองศรีเกษตร (Sri Ksetra) และเมืองบาลิน (Halin) ตามลำดับ โดยศรีเกษตรนับเป็นนครรัฐที่มีอิทธิพลมากที่สุด เป็นที่รู้จักกันในนามอาณาจักรศรีเกษตร ซึ่งแปลว่า ดินแดนแห่งความโชคดี อาณาจักรของชาวปูยซึ่งยาวนานกว่าล้านปีจนกระทั่งล่มสลายไปในรว พ.ศ. ๑๑๐๐ เนื่องจากการรบของชนชาติญอญและอาณาจักรน่านเจ้า หลังจากนั้นก็อำนาจและผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรพุกาม ชาวปูยมีภาษาพูดของตนเอง เป็นภาษาโบราณในตระกูลภาษาย่อยในเบต-พม่า และกลายเป็นภาษาตายในรวพุทธศตวรรษที่ ๑๗ นักประวัติศาสตร์ได้พยายามตีความหมายจำทรภาษาเปยงส่วนเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๕๔ แต่เนื่องจากหลักฐานที่มีอยู่ในขณะนั้น