ราชวงศ์ศรีเกษตรและมรดกทางประวัติศาสตร์  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2561 หน้า 54
หน้าที่ 54 / 108

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการศึกษาราชวงศ์ศรีเกษตรจากจารึกที่พบ รวมถึงประวัติศาสตร์ของกษัตริย์ Harivikrama และการสำรวจโบราณสถานต่าง ๆ ที่บ่งบอกถึงความรุ่งเรืองในอดีต เช่น วิหารเบญจ และรายละเอียดที่สื่อถึงธรรมเนียมปฏิบัติ งานศพและวัฒนธรรมโบราณของอาณาจักรศรีเกษตร โดยเฉพาะการลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ที่สร้างความสำคัญต่อศิลปะและวัฒนธรรมในยุคถัดไป

หัวข้อประเด็น

-ราชวงศ์ศรีเกษตร
-ประวัติศาสตร์ไทย
-จารึกโบราณ
-โบราณคดีและแหล่งมรดกโลก
-วิถีชีวิตและความเชื่อ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มีไม่มากนัก ทำให้ปะติดปะต่อเรื่องราวและรวบรวมข้อมูลได้ไม่มากเท่าที่ควร เช่น จารึกบนฃินฝังอยู่ที่เมืองศรีเเกษตร ข้างในบรรจุจีวร ลูกปัด และอัญมณี ที่แสดงถึงธรรมเนียมปฏิบัติเกี่ยวกับงานศพในยุคประวัติศาสตร์ตอนต้น ปรากฏภาพเป็นข้อความสั้น ๆ ว่า “กษัติย์พระนามว่า Harivikrama เสด็จสวรรคตในวันที่ ๘ เดือน ๒ ปี ๑๙ รวมพระชนมายุได้ ๒๖ ปี ๗ เดือน ๑๒ วัน ซึ่งนับประวัติศาสตร์ในครั้งนั้นมารวมข้อมูลสั้น ๆ จากรอยจารึกดังกล่าวได้แก่เพียงว่า ราชวงศ์นี้ปกครองอาณาจักรศรีเกษตรชื่อ Vikrama แต่ช่วงเวลาที่ราชวงศ์ดังกล่าวได้แค่เพียงว่าราชวงศ์นี้ปกครองอาณาจักรศรีเกษตรชื่อ Vikrama แต่ช่วงเวลาที่ราชวงศ์ดังกล่าวได้แค่เพียงว่าราชวงศ์นี้ปกครองอาณาจักรศรีเกษตรชื่อ Vikrama แต่ช่วงเวลาที่ราชวงศ์ดังกล่าวได้แค่เพียงว่าราชวงศ์นี้ปกครองอาณาจักรศรีเกษตรชื่อ Vikrama แต่ช่วงเวลาที่ราชวงศ์ดังกล่าวได้แค่เพียงว่าราชวงศ์นี้ปกครองอาณาจักรศรีเกษตรชื่อ Vikrama แต่ช่วงเวลาที่ราชวงศ์ดังกล่าวได้แค่เพียงว่าราชวงศ์นี้ปกครองอาณาจักรศรีเกษตรชื่อ Vikrama แต่ช่วงเวลาที่ราชวงศ์ดังกล่าวได้แค่เพียงว่าราชวงศ์นี้ปกครองอาณาจักรศรีเกษตรชื่อ Vikrama นักประวัติศาสตรและโบราณคดีได้พยายามศึกษาร้องราวของราชปฐมกาลสำรวจจึงปลูกสร้างและการขุดค้นหาหลักฐานในราบคาบภายในนิเวศน์ในกำแพงเมืองทำให้ได้พบสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา ความเชื่อ สภาพสังคมและวิถีชีวิตของชาวปุ่ อาทิตย์ ปราสาทวัง พระสถูป วัด วิหาร ระบบน้ำ รวมทั้งโบราณวัตถุมากมาย เช่น ถ้วยชาม ตุ๊กตาปั้น จารีตดำริ พระพุทธรูป ถือเป็นแหล่งโบราณคดีสำคัญ ทำให้คณะกรรมการมรดกโลกมีขึ้นทะเบียนกลุ่มเมืองโบราณแห่งยุคเป็นมรดกโลกในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ เพราะเป็นสถานที่มีหลักฐานแสดงร่องรอยความยิ่งใหญ่ในอดีตและความรุ่งเรืองแห่งอายุรรวมที่มีอิทธิพลมาสู่วงแบบศิลปะและวัฒนธรรมของเนียนมาในยุคต่อ ๆ มา วิหารเบญจ (Bebe Gyi) แห่งศรีเกษตร เป็นต้นแบบการก่อสร้างแหล่งสัปปายะกรรม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More