การอภิปรายของพระอรหันต์และการควบคุมอารมณ์  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2561 หน้า 69
หน้าที่ 69 / 108

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการวิเคราะห์การตอบสนองของพระบรมศาสดาและพระสารีบุตรต่อเหตุการณ์ที่ถูกใส่ร้าย โดยชี้ให้เห็นถึงการไม่ถือโทษและการควบคุมอารมณ์แม้เมื่อถูกกดดันหรือถูกโจมตี ซึ่งเสนอให้เข้าใจถึงหลักธรรมชาติของการเป็นผู้มีปัญญาและความสำคัญของการรักษาความสงบในบุคคลที่มีคุณธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การควบคุมอารมณ์
-การตอบสนองต่อการใส่ร้าย
-คุณธรรมของพระอรหันต์
-ศึกษาชีวิตพระพุทธเจ้า
-ปัญญาในพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ผู้อภิปรายด้วยปัญญา ถึงแม้เป็นพระอรหันต์แล้ว พระบรมศาสดาทรงทราบความจริงก่อน ท่านก็พยายามระมัดระวังไม่อยากให้กระทบกระทั่งกับใคร แต่งั้นนั่นท่านก็ยังหลีกเลี่ยงปัญหาถูกผู้อื่นกระทบกระทั่งไม่ได้เช่นกัน เช่น ถูพระฉัน Tarฅrya แต่ท่านก็ไม่ถือโทษ ถูกพระแก้วมณี ก็ไม่ดอนฅ แต่พวกลูกศิษย์ของพระฉัพิธีของพระฉัน Tarฅrya ล่วงเกินก็ไม่ราราณะลบ ถูกกิจกุในซึ่งใส่ร้ายก็ไม่โกรธ เป็นตน สำหรับในที่นี้ จะขอเขียนเรื่อง ถูกฏิกษุใส่ร้ายก็ไม่โกรธ มาอธิบายเป็นตัวอย่างดังนี้ เรื่องมีอยู่ว่า พระภิษุรูปหนึ่งขืนมันในปฏิปทาของพระสารีบุตรเป็นอันมาก เมื่อทราบข่าวว่าถอกพระฉันแล้ว พระสารีบุตรจะจริตไปสู่ที่อื่น ท่านจึงติดตามไปส่งพระฉันรูปนี้ แต่เนื่องจากในวันที่ผูคนไปส่งเป็นจำนวนมาก ทำให้พระเณรกล่าวทักทายได้ไม่ทั่วถึง ท่านจึงเกิดความน้อยอกน้อยใจ โกรธคือพระเณรไม่เห็นความสำคัญของตน ขณะพระสารีบุตรกำลังสนทนากับภิกษุอื่นๆ อยู่นั้น มุสุลาอญฅคุณก็อธิษฐานของของภิกษุนี้เข้า ท่านผูกโจรอย แล้ว จึงนำนี่เรื่องนี้ไปฟ้องพระบรมศาสดาว่า “พระพุทธเจ้า พระสารีบุตรทำร้ายข้าพระองค์เหมือนดีที่ผ่านมาๆ” ท่านไม่ยอมขอโทษและจะหลีกไปสู่ที่จาริก ท่านคงคิดวัตตัวเองเป็นพระอัครสาวกของพระองค์ พระเจ้าข้า (ข้อมูลอ้างอิง: ขุ..อ.เรื่องพระฉันณเกร (ไทย) ๑๑/๒๙๘-๒๙๙, ขุ.อ.เรื่องพระสารีบุตรเกร (ไทย) ๑๔/๓๙๙-๔๐๑, ขุ.ช.อ.สุภารำ เกร (ไทย) ๕๙/๗๙-๘๐, วจ.เรื่องความเคารพ (ไทย) ๗/๑๐๐/๒๑๒-๒๑๓, อง.นว.สีหนาทสุดา (ไทย) ๒๓/๑๐๔/๑๕๔-๑๕๕, ขุ..อ.เรื่องพระสารีบุตรเกร (ไทย) ๑๐/๘๔๘-๘๙๘, อง.นว.สีหนาทสุดา (ไทย) ๒๓/๑๐๔/๑๕๔-๑๕๕)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More