ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระบรมศาสดาทรงเห็นว่าภิกษุผู้นั้น สำนึกผิดแล้ว ก็ทรงกล่าวรับโทษของเขา และทรงขอให้พระสารีบุตรล่วงลงโทษแก่ภิกษุรูปนั้นก่อนที่ศรีษะเขาจะแตกเป็น ๗ เสี่ยง พระสารีบุตรกล่าวว่า "พระเจ้าข้า ข้าพระองค์ยอมรับโทษต่อผู้อื่นนี้ และผู้อื่นยอมรับโทษต่อข้าพระองค์ ถ้าผู้ของข้าพระองค์มีอยู่" พระภิกษุที่ประชุมอยู่ในนี้ เห็นความเป็นผู้มีคุณธรรมของท่านแล้ว พากันพูดยกย่องว่า พระสารีบุตรเป็นผู้มีคุณธรรมสูง แม้นท่านไม่มีโทษ ก็เพียงไม่โกรธ ไม่ประทุษร้ายผู้ใด ยังขอให้ขาดโทษให้ถอดด้วย จากเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่า แม้พระสารีบุตรจะถูกใส่ร้าย แต่นักก็รีบวัวตัวนี้น่าควรยกย่อง จึงสามารถคลายปัญหาเหล่านี้ออกไปได้ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมากของการวางตนเป็นผู้ใหญ่ นอกจากนั้น การวางตนของท่านยังทำให้พระบรมศาสดาทรงเบาแรงในการปกครองสงฆ์ อีกด้วย ทำให้พระสามารถประคับประคองมุ่งหวังให้อยู่รวมกันอย่างมีความสุขต่อไป 2.๑๐ พร้อมแบ่งบาวาระของพระบรมศาสดาอยู่เสมอ พระบรมศาสดาทรงมีการแผ่พระพุทธศาสนาอยู่มากมาย ลำพังเฉพาะงานที่พระองค์ดำเนินตามพุทธกิจ ๕ ประจำวัน (ตั้งแต่เวลาดังกล่าวนี้ปจดเวลาเข้ามิตของอีกวันหนึ่ง) ก็กราบเทบไม่เว้นพักผ่อน พระวรายอยู่แล้ว ยังไม่นับพุทธกิจนอก ๘ พระบาท ข้อคือ ศิลาสาดก (ไทย) ๕๖๕๙-๕๕๙ ๙ ขุ.อ.จุลาภาค (ไทย) ๒๑/๕๔-๑๖๒ อยู่ในบุญ มกราคม ๒๕๖๑