ข้อความต้นฉบับในหน้า
ข้อมูลที่อ่านได้จากภาพมีดังนี้:
ตอนที่ ๕ : ศาสนาพราหมณ์ในยุคที่ยังไม่มีพระพรหม
ยุคพระเวท (Vedic Period) : ๘๐๐-๓๐๐ ปีก่อนพุทธศตวรรษ
ก่อนที่จะเข้าฟัง "อารยัน" จะเข้ามาครอบครองอินเดีย "อารยัน" มีความเชื่อทางศาสนาที่เชื่อมโยงกับเทพเจ้าต่าง ๆ โดยมี "พระอินทร์" (Indra) เป็นเทพเจ้าสูงสุดและเป็นเทพสงครามผู้ประทานชัยชนะเหนือ "มิลักขะ" นอกจาก "พระอินทร์" แล้ว ยังมีเทพเจ้ามากมาย ซึ่งโดยมากจะเป็นเทพเจ้าที่เกี่ยวโยงกับธรรมชาติ เช่น สุรีเทพ (เทพแห่งดวงอาทิตย์) อัคนเทพ (เทพแห่งไฟ) เป็นต้น
ในการสื่อสารกับเทพเจ้าต่าง ๆ อาศัย "พราหมณ์" เป็นผู้นำหน้าที่ผ่านพิธีบูชา ซึ่งในยุคเริ่มนั้นยังไม่ปรากฏว่า มีการบูชาเจ้าในสัตว์เพื่อเช่นสรวงบูชา แต่าศัยเนเบ้า เลยรับ นำมัน เป็นต้น และสิ่งที่ขาดเสียไม่ได้ในพิธีกรรมดังคาว อีกทั้งยังเป็นต้นกำเนิดของชื่อคัมภีร์ นั้นคือ "คัมภีร์พระเวท" (Veda) ประกอบด้วย ๓ คัมภีร์ รวมเรียกว่า "ตรีเวท" (Triveda) หรือ "สังติฎ" (Saṁhitā) ซึ่งเรารู้จักกันในชื่อ "คัมภีร์ไตรเทพ" ประกอบด้วย...
๑. คฤหวา (Rgveda) เป็นคัมภีร์ที่ถือเก่าแก่ที่สุดในโลก เกิดขึ้นราว ๘๐๐ ปี ก่อนพุทธศักราช ประกอบด้วยบทสวดสรรเสริญและอ้อนวอนเทพเจ้าต่าง ๆ ซึ่งในจำนวนนี้มีการกล่าวสรรเสริญถึง "พระอินทร์" ซึ่งเป็นเทพเจ้าสูงสุดอย่างว่า ๑ ใน ๔ ของเนื้อทั้งหมด นับเป็นคัมภีร์ที่สำคัญและเก่าแก่ที่สุด ที่ทำให้ทราบถึงเรื่องราวเกี่ยวกับ "อารยัน" ได้เป็นอย่างดี
๒. สามเวท (Samaveda) เป็นคัมภีร์ที่ใช้ในการบรรยายเพื่อบูชาเทพเจ้าโดยใช้โอม เป็นคัมภีร์ที่แยกออกมาจาก "คฤหวา" อีกที
๓. ยายุรวา (Yajurveda) เป็นคัมภีร์ที่ใช้ถ่ายทอดพิธีกรรมต่าง ๆ โดยคัดเอา มนตร์ใน "คฤหวา" มาดัดแปลงและร้อยเรียงเป็นร้อยแก้ว เพื่อใช้ในการปฏิบัตพิธีกรรมจะเห็นได้ว่า ศาสนาพราหมณ์ในยุคพระเวทเน้นการอ้อนวอนต่อเทพเจ้าต่าง ๆ ผ่านพราหมณ์ผู้ประกอบพิธีกรรม เพื่อให้สมความปรารถนาในสิ่งที่มุ่งหวัง โดยอาศัยคัมภีร์พระเวท ส่วนจุดมุ่งหมายสูงสุดนั้นไม่ด้ามชัดในยุคพระเวทนี้แล้วเป้าหมายสูงสุดในเรื่อง "โมกษะ" (moksa) หรือเทพเจ้าสูงส่งสรรพสิ่งอย่าง "พระพรหม" (Brahma) ที่เราไม่พบในคัมภีร์ยุคพระเวทอย่าง "คัมภีร์ไตรเทพ" สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นมาในยุคใด ? ด้วยสาเหตุอะไร ? โปรดติดตามในตอนต่อไป
อยู่ในบุญ มกราคม ๒๕๖๑