ข้อความต้นฉบับในหน้า
禅ตามแต่เมื่อพิจารณาจากเนื้อหาและแนวหลักคำสอนโดยเฉพาะเรื่อง
“บารมีสิบมิทธิ” แล้ว มีความใกล้เคียงกับพระพุทธศาสนา 18-20 นิยาย
มากกว่าหายาน
4. โพชิสัตตวอทาน (Bodhisattva-avadāna)11 เป็นคำภิรึที่ไม่ปรากฏชื่อของผู้จารจาก มีรูปแบบใกล้เคียงกับ “ชาดกมาลา” ของท่านอายศุรรคเกือบทั้งหมด ต่างกันเพียงเรื่องรองรุ่ที่ 1 (Subhása-jāta) เท่านั้น ส่วนที่เหลืออั้นเหมือนกับ “ชาดกมาลา” ทั้งหมด คำกล่าวคือ เรื่องที่ 2 ใน “โพชิสัตตวอทาน” คือ เรื่องที่ 1 ใน “ชาดกมาลา” ลำดับเช่นนี้เอื้อลงไป รวม 35 เรื่อง
5. หิริภูฏฺฏกชาดกมาลา (Haribhatta-jātakamālā) เดิมพบเพียงฉบับแปลเป็นเตด (རྒྱལ་གྱི་བརྒྱད་རྩོམ་རྣམ་རྒྱས་) Taipei12 No.4152; Peking13 No.5652) เท่านั้น แต่ในภายหลังได้มีการค้นพบใบลานต้นฉบับสกุตตด้วย สำหรับ “หิริภูฏฺฏกชาดกมาลา” นี้มีอยู่ด้วยกัน 35 เรื่อง สันนิษฐานว่าเกิดขึ้นหลังจาก “ชาดกมาลา” ของท่านอายศุร
ในการศึกษาชาดกที่อยู่ในภาพสลักหิน นอกจากอคัยเนื้อหาที่ปรากฏในคำภิรึชาดกและอรรถกถาชาดกมาลีเป็นหลักแล้วในบางกรณี
11 Mitra (1882: 49-56)
12 The Tibetan Tripitaka, Taipei Edition. 1991. 72 vols. edited by A. W. Barber. Taipei: SMC Publishing.
13 The Tibetan Tripitaka, Peking Edition kept in the Library of Otani University, Kyoto. 1955-61. 168 vols. edited by D. T. Suzuki. Tokyo-Kyoto: Tibetan Tripitaka Research Institute.