ข้อความต้นฉบับในหน้า
ความสัมพันธ์ของชาดกในคัมภีร์และชาดกในภาพสลักหิน
ใน 2 หัวข้อที่ผ่านมาได้กล่าวถึงชาดกที่ปรากฏในคัมภีร์และชาดกที่ปรากฏในภาพสลักหินแล้ว มาถึงหัวข้อนี้จะได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ของชาดกที่ปรากฏในคัมภีร์และภาพสลักหินโดยคัมภีร์ที่จะนำเสนอจะคำนึงถึงลำดับชั้นหรือยุคของคัมภีร์24 กล่าวคือ เป็นการแยกพิจารณาระหว่าง
กลุ่มที่ 1 ภาพสลักหินที่อาศัยเพียง "คาถาชาดก" ก็เพียงพอต่อการอธิบายเรื่องราวที่ปรากฏอยู่ในภาพสลักหิน
กลุ่มที่ 2 ภาพสลักหินที่อาศัยเพียง "คาถาชาดก" ไม่อาจอธิบายเนื้อความในภาพสลักหินได้ ต้องอาศัยเนื้อความที่อยู่ในส่วนของ "อรรถาคาถาดก" มาประกอบด้วย จึงสามารถอธิบายได้ถึงเรื่องราวที่อยู่ในภาพสลักหินได้
โดยในที่นี้ขอยกตัวอย่างกรณีศึกษาเป็นมากลุ่มละ 1 ตัวอย่าง เพื่ออธิบายให้เห็นถึงการแบ่งกลุ่มดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม โดยในกลุ่มที่ 1 อาศัย A.I.a.1 Miga-jāta และกลุ่มที่ 2 อาศัย B.I.4 (ไม่มีชื่อจารึก) ขึ้นมาเป็นกรณีศึกษา
24 เกี่ยวกับ "ยุคของคัมภีร์" สามารถแบ่งแยกย่อยลงไปได้ดังหมด 6 ยุค โดยมี ลำดับดังต่อไปนี้ 1. ยุคตันต์ ได้แก่ พระสูตรตันุปปิฎก 4 นิกาย อันได้แก่ ทีมีกาย มัชฌิมายา สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย และบางคัมภีร์ในทุกทุกนิกาย เช่น สุตตันฺบาต ธรรมบท ชาดก เทวทัศ ฯลฯ คา เป็นตำแหน่งและพระวินัยปิฎก (เว้นคัมภีร์ปริวาร) 2. ยุคอรต่อระหว่างยุคตันต์กับยุคอธิธรรม ได้แก่ ปฏิสัณฑ์ภาวาภานรและนิทเทส 3. ยุคอธิธรรม ได้แก่ พระอธิธรรมปิฎก 4. ยุคต่อระหว่างยุคอธิธรรมกับยุคอรต่อก ได้แก่ เปโคบเทส เนติปกรณ์ มิลินทปัญหา 5. ยุคอรต่อก ได้แก่ คัมภีร์อรรถกถา วิภัทธิมรรคน 6. ยุคศิลา ได้แก่ คัมภีร์กรีฏิกา อนุฏิกา และปราณีสเต (Mizuno 1964: 17-40)