ข้อความต้นฉบับในหน้า
2. มีภาพสลักหินเล่าเรื่องซาดบางส่วนนี้มีเรื่องราวออกเหนือนจาก
ที่ปรากฏใน “คาถาซาด” กล่าวคือ เรื่องราวเหล่านี้ไม่ปรากฏใน “คาถาซาด”
แต่ปรากฏใน “อรรถกาถาด”
3. เพื่อพิจารณาถึงอายุของภาพสลักหินที่วกวุถกับอรรถกาถาดซึ่งภาพสลักหินมีความเก่าแก่กว่าคัมภิริอรรถกาถาดที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน จึงเป็นสิ่งที่ค่อนข้างจะขัดแย้งกันว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในภายหลังจะมาปรากฏในสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนโดยได้อย่างไร แต่จากการศึกษาวิจัยเชิงคัมภิริทำให้พบว่าในอรรถกาถาดที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มีส่วนของ “โบราณอรรถกาถาด” อยู่ด้วย จึงมีความเป็นไปได้ว่าเรื่องราวที่ปรากฏอยู่ในภาพสลักหินนั้น เป็นเนื้อหาในส่วนของ “โบราณอรรถกาถาด” ที่มาพ่อนอรรถกาถาดที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
ในบทความนี้ ผู้เขียนได้ศึกษาความสัมพันธ์ของซาดที่ปรากฏในคัมภิริกับชาดกที่ปรากฏในภาพสลักหินที่สลูปราฎ์ โดยอาศัยเพียง “คาถาซาด” ในคัมภิริว่ะไรปรากฏและเนื้อหาใน “อรรถกาถาด” ซึ่งเป็นคัมภิริบาสิ่งของเถรวาทเท่านั้น นอกจากนี่ยังเป็นเพียงการยกตัวอย่างบางส่วนขึ้นมาวิจารณ์เท่านั่น แต่ที่กล่าวไว้ในข้างต้นว่า คัมภิริที่เกี่ยวข้องกับชาดนนั้นไม่ได้มีเพียงเท่านี้ ยังมีในส่วนของคัมภิริสันกุตต ทับ และฉนีปราณอยู่ด้วย ซึ่งผู้เขียนจะขยายขอบเขตการศึกษออกไปและจะนำมาเสนอในวระตจ ∙ ไป
นอกจากนี้ผู้เขียนขอตั้งขอสังก์วใกล้กับสิ่งที่เรียกว่า “สิ่งที่เรียกว่าชาดก” ว่าถ้าหาก “ชาดก” ที่ถูกจัดอยู่ใน “นังสัสกุตต” มีเพียง “ร้อยกรอง” หรือ “คาถา” เท่านั้น เหตุใดจึงไม่ถูกจัดรวมเข้าอยู่ในหมวดของ “คาถา” เหมือนดังธรรมบท เถรวาทหรือเถรวาทคณะ เพราะในบางคาถาโดยเฉพาะที่ปรากฏในบาดาลันต์แทบไม่เห็นถึงเรื่องราววาดาดเลย