การปฏิบัติธรรมและวงจรสังสารวัฏในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (3) หน้า 16
หน้าที่ 16 / 21

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจวงจรสังสารวัฏและความจำเป็นในการเจริญสมาธิภาวนาเพื่อละกิเลส โดยเน้นความแตกต่างระหว่างการสังสมกุศลกรรมในโลกและการปฏิบัติธรรม ในการเข้าถึงธรรมชั้นสูงสุด. ถ้าหากเราพูดถึงกุศลกรรม แน่นอนว่ามันมีความหมายในเชิงการทำความดี แต่ก็ไม่สามารถยืดวงจรสังสารวัฏได้. การกลั่นกรองความเข้าใจในเรื่องนี้จะเปิดเผยถึงแนวคิดพื้นฐาน ในการมองโลกและชีวิตตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า.

หัวข้อประเด็น

- วงจรสังสารวัฏ
- กุศลกรรม
- การปฏิบัติธรรม
- การเจริญสมาธิภาวนา
- หลักเหตุและผล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมะธรรมวว วาวารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 (ฉบับรวบรวม 12) ปี 2564 วงจรสังสารวัฏ และในการยืดวงจรสังสารวัฏ มีความจำเป็นที่จะต้องเจริญสมาธิภาวนาอย่างเต็มที่ เพื่อประหกิเลสาวให้หมดสิ้นไป แต่ว่า “การสังสมกุศลกรรมในทางโลก” กับ “การปฏิบัติธรรมเพื่อประหกิเลสาวให้หมดสิ้นไป” เป็นเรื่องแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง ดังนั้น กุศลกรรมในชีวิตประจำวัน จึงไม่อาจทำให้บรรจุธรรม [ชั้นสูงสุด] ได้ นักศึกษา : อาจารย์กำลังจะบอกว่า “การสังสมกุศลกรรม” เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายสำหรับพวกเรา ใช่ไหมครับ ? อาจารย์ : ไม่ใช่ครับ เราไม่ได้พูดถึงว่า “กุศลกรรมเป็นสิ่งที่มีความหมายหรือไม่มีความหมาย” แต่เรากำลังพูดถึงว่า “วัตถุประสงค์ในการปฏิบัติธรรม คือ การยืดวงจรสังสารวัฏ” ดังนั้น ไม่ว่าเราจะสังสมกุศลกรรมมากเพียงใด ก็ไม่สามารถยืดวงจรสังสารวัฏได้ หรือทำให้เราสามารถบรรจุธรรม [ชั้นสูงสุด] ได้ แน่นอนว่า ถ้าเราของมามองจากมุมมองทั่ว ๆ ไป จะเห็นว่า “กุศลกรรม” คือล “การทำความดี” แล้วเหตุใด “กุศลกรรมจึงไม่สามารถยืดวงจรสังสารวัฏได้” ซึ่งก่อนที่เราจะพูดคุยกันต่อไป เรามาทำความเข้าใจในเรื่องนี้กันสักหน่อย ถ้าคงยังจำได้ถึงเรื่องที่พูดคุยกันไปแล้วในบทที่ 1 ที่เราพูดถึงแนวคิดในเรื่อง “สังสารวัฏ” และ “หลักเหตุและผล” ซึ่งเป็นแนวคิดพื้นฐานในการมองโลกและชีวิตของพระคาถามุนีพุทธเจ้า นักศึกษา : จำได้ครับ ถ้าเราไปทำอกุศลกรรมเข้า ด้วยผลกรรมบาลจะทำให้เราต้องไปเกิดในดิรฉานภูมิหรือ นรกภูมิ นี่เป็นแนวคิดในเรื่องสังสารวัฏ ใช่ไหมครับ ?
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More