ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมวาร วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 (ฉบับรวบรวม 12) ปี 2564
มีมากกว่า 12 คัมภีร์ ฉบับแปลภาษาจีนโบราณมีมากกว่า 42 คัมภีร์ และถ้าผนึกมาถึงคัมภีร์มีสภาไม่สมบูรณ์เข้าไปด้วยแล้ว นับได้ว่าเป็นกลุ่มคัมภีร์ที่มีจำนวนมากมายทีเดียว
เพื่อให้เป็นข้อมูลอ้างอิงไว้เล็กน้อย เราลองมาดูดำเนินการกำเนิดของกลุ่มคัมภีร์ “ปรัชญาปรามิตาสูตร” กัน โดยคัมภีร์ที่กำเนิดขึ้นก่อน คือ “ปรัชญาปรมิตาสูตรในกลุ่มฉบับเล็ก” (ผู้แปล : ฉบับสงฆปมาดาธกา) หลังจากนั้น มีการเพิ่มเนื้อหาขึ้นเรื่อย ๆ จนลามาเป็น “ปรัชญาปรมิตาสูตรในกลุ่มฉบับใหญ่” (ผู้แปล : ฉบับวิสตมาส-ตกกม) ซึ่งพระสูตรที่ว่าสุดในกลุ่มคัมภีร์ปรัชญาปรมิตาสูตรต้นนี้คือ “ตศกาสรีกาปรัชญาปรมิตาสูตร”
從นั้น “วัจฉรณจิตกัปปรัชญาปรมิตาสูตร” และ “ปรัชญาปรามิตาทัยสูตร” จึงได้เกิดขึ้น แต่ว่า ในยุคสมัยที่คัมภีร์เหล่านี้อิ๋กเนิดขึ้น เมื่อเทียบกับ “ปรัชญาปรมิตาสูตรในกลุ่มฉบับใหญ่” กลับมีทิศทางในเรื่องความยาวของพระสูตรที่ลดทอนลง ต่อจากนั้น “ปรัชญาปรมิตานายตปัญญาตกกสูตร” ซึ่งเป็นพระสูตรที่มีสาระสำคัญในสาย
_____________________________
有หมายความว่า “สมบูรณ์แล้ว” หรือ “กลืนกองแล้ว”
9 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า +十万颪若経 (jumanjuhannyakyō)
10 「金刚般若経」(kongōhannyakyō) มีข้อความว่า「金刚般若波羅蜜多経」(kongōhanyaharamittakyō) เป็นพระสูตรในกลุ่มคัมภีร์ปรัชญาปรมิตาสูตรที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับสองรองจาก “ปรัชญาปรมิตาหทัยสูตร” (ผู้แปล : ในบ้านเราคุ้นเคยกับพระสูตรนี้ชื่อ “วัจรปรัชญาปรมิตาสูตร”)
11 「般若理趣経」(hannyarishukyō) เป็นพระสูตรสำคัญของนิกายชินงอน-ชู (真言宗 shingonshu) ซึ่งเป็นสายต้นตระกูลในประเทศญี่ปุ่น แต่เดิมพระสูตรนี้ เป็นส่วนหนึ่งใน “มหาปรัชญาปรมิตาสูตร” ฉบับแปลภาษาจีนโบราณที่พระเสวยจังกระแสพระถังซัมจั๋ง แปล ที่เรียกว่า “เนยภาค” (理趣分 rishubun) (ผู้แปล : ผกที่ 578 ของ “มหาปรัชญาปรมิตาสูตร”) แล้วนำมาปรับให้เป็นแนวคำสอนของสายต้นตระ