ข้อความต้นฉบับในหน้า
46 แบบเรียนกีไวยากรณ์สมบูรณ์แบบ นามกิติ์
ยุ เปลี่ยน
มีลักษณะทั่วไปดังนี้
1. เป็นได้หลายสระนะ ชี้อยู่กับว่า ใช้เป็นชื่อของอะไร
2. สำเร็จรูปแล้วใช้เป็นนามนาม(กริยานาม ภาวะสัน) เป็นได้ ลิงค์เดียว คือเป็นลิงค์อะไรคือเป็นลิงค์นั้น เช่น เทหวาน ภาวะนาน เจตนา ฯลฯ เป็น อิติลิ่งค์
3. สำเร็จแล้วเป็น คุณนาม จิง เป็นได้ ลิงค์ ปุงลิงค์ แจกผสมานามภาวิติตเหมือน ปรสิต อิติลิ่ลิงค์ ลง อา ปัจจัย แจกผสมานามภาวิติตเหมือน กุล
หลักการของ ยุ เปลี่ยน
ยุ เปลี่ยนแล้วแปล ยุ เป็น นอ เสมอเป็นปัจจัยที่มีอำนาจพฤกษะระดับชั้นเดียวกันกับ อ
ปัจจัย ที่เรียบมาแล้วในอายบวก คือ
1. ธาตุสระเดียเป็น อู อุ พฤกษ์ อู เป็น โอ แปล โอ เป็น อว เช่น
ธมมุสุสวน (ธมมุ+สุ+อุ+สิ) อ. การพึ่งสงธรรม
หวาน (หว+อ+ ยู+สิ) อ. บุชา
ภวน (ภ+อ+ ยู+สิ) อ. ความเป็น
ลวน (ล+อ+ ยู+สิ) อ. การตัด
2. ธาตุสระเดียเป็น อี อี พฤกษ์ อี อ แปล เอ เป็น ออย เช่น
สยั่น (สิ+อ+ ยู+สิ) อ. การนอน
อลงียุน (อ+จิ+อ+ยู+สิ) อ. การส่งสม
วิษยัน (ว+อ+ ยู+สิ) อ. การชนะโดยวิกษะ
เนยน (น+อ+ ยู+สิ) อ. การแนะนำ
3. ธาตุสระหลายตัวระดับธาตุเป็น อู พฤกษ์ อู เป็น โอ เช่น
โภชน (ภ+อ+ ยู+สิ) อ. การบริโภค
โบสนา (มู+อ+ ยู+สิ) อ. การโฆษณา
โกโณ(โณ) (ก+อ+ ยู+สิ) ผู้โฆษโดยปกติ
โรงโน(โณ) (ร+อ+ ยู+สิ) ผู้รุ่งโรงโดยปกติ
โชโต(โโต) (ซ+อ+ ยู+สิ) ผู้รุ่งเรื่องโดยปกติ
โสจน์ (ส+อ+ ยู+สิ) อ. การค้าโศก