ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑๐ ตุลาคม ร่วมมั่นบูชา พระฎีนิวิชฌาชา ผู้ชี้หนทางพระนิพพาน
พระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) ผู้บังเกิดขึ้นเพื่อชี้ทางนิพพาน
ความสุขงั้นยิ่งและเป็นความสุขแห่งความหลุดพ้น คือ “นิพพาน” ดังพูดจานั้นว่า “นิพพาน” ปรม สุข นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง ซึ่งความสุขอันยิ่ง คือ พระนิพพานนี้ นั่นเป็นเป้าหมายสูงสุดของผู้จะปฏิบัติธรรมทั้งหลาย แต่ก็เป็นความลับมาอย่างนานนับศตวรรษว่า ด้านในแห่งชีวิต จนกระทั้งพระเดชพระคุณหลวงปู่ท่านได้ศึกษา ธรรมะ ในพระไตรปิฎก จนกระทั่งเกิดความรู้ความเข้าใจในภาวะภูมินี้ แล้วก็เอาชีวิตเป็นเดิมพันในการปฏิบัติ ตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจนกระทั้งค้นพบศูนย์กลางกายฐานที่ 7 ซึ่งเป็นเอกายมรรคทางเอกสายเดียวที่จะนำมาสู่มรรคผลนิพพาน และเมื่อท่านพบแล้ว ก็ไม่ได้นิ่งเฉยรอคอยให้มนุษย์เป็นอิสระเดียวกันนี้ ก็เพียงผู้เดียว ท่านยอมเสียละ อุคพลั้งแรงภายแรงใจ เพื่อพร่ำสอนนี้ให้คนได้เห็นตามด้วย แม้เหินหน่อยเพียงใดก็ไม่ท้อถอย
ต้นแบบแห่งมหาปูชนียาจารย์ ผู้แตกฉานในอรรถและธรรม
วิธีการสอนธรรมปฏิบัติของพระเดชพระคุณ หลวงปู่เต็มเปี่ยมไปด้วยความเมตตาและกุศลใจอันชูจาด เพราะเหตุแห่งความเขียียชฏรรมะ ทั้งโดยอรรถและธรรม คือ ทั้งภาคภาษีและภาคปฏิบัติ โดยที่นักปฏิบัติทั้งหลายไม่ต้องตันเข่าไป เรียนกันถึงในไป ซึ่งมีแต่ผู้ชายและพระเท่านั้นที่จะเข้าไปเรียนได้ แต่หลวงปู่ก็กล้าละอธรรมกลางเมืองเลยทีเดียว ทำให้แม่สัตริภรรยาเท่าเรียนธรรมปฏิบัติท่านได้ ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ลูกเด็กเล็กแดง ทั้งหญิงทั้งชายได้เรียนธรรมกันถ้วนหน้า นอกจากนี้สิ่งที่พระเดชพระคุณหลวงปู่ นำมาชี้แนะยังทำให้สามารถวัดหรือประเมินผลของการปฏิบัติ สมาธิได้ว่า ก้าวหน้าไปถึงไหน เพียงไร อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม คือ “การวัดผลสมาธิทางภาคปฏิบัติด้วยการเห็น” โดยเมื่อเอาใจจดจ่ออยู่ที่ศูนย์กลางกาย เมื่อใจหยุดถูกส่วนแล้วจะพบดวงธรรมต่าง ๆ และกายในภายตามลำดับ ในที่สุดจะเข้าถึงธรรมภาย ซึ่งแสดงถึงภูมิธรรรมและความรู้จริงของท่าน