ข้อความต้นฉบับในหน้า
และขาวพุทธที่ทวีขึ้นเป็นจำนวนล้าน ๆ กระจายอยู่ทั่วทุกแห่งแคว้น
เพียงในช่วงเวลา ๒๐ ปี ก็บริจากว่าคำสอนในพระพุทธศาสนาได้รับความรัทธา
อย่างแพร่หลาย ยิ่งกว่าคำสอนของลัทธิต่าง ๆ ที่เคยมีมาก่อน คำสอนของพระองค์
มีมากมายต้องจัดแบ่งเป็นหมวดหมูได้ถึง ๙ หมวดใหญ่ เรียกว่า "นวรรคศิลอุตตสาท"
ประกอบด้วย
๑ สุตตะ หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยเนื้อความที่เป็นเรื่องหนึ่ง ๆ ได้แก่
พระสูตรต่าง ๆ เช่น มหานิพพานสูตร เป็นต้น รวมทั้งพระนิพพานปฏิ และนิทธาส
(คัมภีร์อธิบายขยายความพุทธภาวิตเพิ่มเติม)
๒ เคยยะ หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยเนื้อความที่เป็นร้อยแก้วผสมกับร้อยกรอง
ทั้งหมด ได้แก่ พระสูตรต่าง ๆ ที่มีเนื้อความเรียงและการประพันธ์คำเป็นโลงฉันท์อยู่
ในพระสูตรเดียวกัน
๓ เวทยกะนะ หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยเนื้อความที่เป็นร้อยแก้ว (ความ
เรียง) ล้วน ๆ ไม่มีการประพันธ์คำเป็นโลงฉันท์รวมอยู่ด้วย ได้แก่ พระอภิธรรมปิฏก
ทั้งหมด พระสูตรที่ไม่มีคาถา และพระพุทธวจนที่ไม่ได้จัดเข้าในหมวดอื่นทั้ง ๙ หมวด
๔ คาถา หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยการประพันธ์เนื้อความที่เป็นร้อยรองลง
ๆ เช่น ธรรมบทคาถา เกร็ดคำ และคาถาล้วน ๆ ที่ไม่มีชื่อ
๕ อุทาน หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยการเปล่งพระอุทานด้วยพระสุมนัสญาณ
ได้แก่ พระสูตร ๘๒ สูตร
๖ อิติวุตตะ หมายถึง พระสูตร ๑๑๑ สูตร ที่ขึ้นต้นด้วยถ้อยคำแสดงธรรมว่า
"ข้ออันสัมจริงที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้วา"
๗ ชาตกะ (ชาตก) หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยการเปิดเผยเร่องราวในอดีตชาติต
เมื่อครั้งองค์ทรงสร้างมาจนเป็นพระโพธิสัตว์ มิหนำฺ่ทศ ๕๕ เรื่อง
๘ อุปฏฐธรรม หมายถึง พระสูตรที่มีเรื่องอัสดงอยู่ในกาแสดงธรรมครั้นนั้น เช่น
ที่กล่าวว่า "ภิกษุหลาย ข้อคิดเห็นไม่เคย ๔ อย่างนั้น เท่านั้นนที"*
๙ เวทิตตะ หมายถึง พระสูตรที่แสดงธรรมด้วยการถามและการตอบที่ลุ่มลึก ยิ่ง
ขึ้นไปตามลำดับ ซึ่งทำให้ผู้อ่านได้ทั้งความรู้และความพึงพอใจ เช่น มหาวัลลสูตร
สักกปฏิสูตร เป็นต้น
ภายหลังจากพระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว ได้มีการสังเคราะห์และจัดเรียง
หมวดหมู่พระธรรมคำสอนหรือวรรคศิลอุตตา ทั้ง ๙ หมวดนี้ใหม่ กลายเป็นพระไตรปิฎก
สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วย พระวินัยปิฎก พระสูตรตันติปัญญา และ
พระอภิธรรมปิฎก
๒.๓ คุณสมบัติของนักเผยแผ่แห่งนี้จึงไม่เป็นพระอรหันต์
ในช่วงเวลาที่คำสอนของพระองค์มีจำนวนมากถึง ๙ หมวดนี้ นอกจากนี้การส่ง