ข้อความต้นฉบับในหน้า
ผมเป็นกัลยาณมิตรที่ดีพอหรือยัง ?
ถ้าเราเข้าถ้องปฏิบัติธรรมจนเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นที่ฉันเอง
เราจะเกิดความรู้สึกอยากเป็นกัลยาณมิตรของคนที่เรารักให้เรา
ปฏิบัติธรรมบ้าง แตทำหน้าที่กัลยาณมิตรนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะ
บางคนก็ประสบความสำเร็จ บางคนก็หลหลอ คือชวนคนทำความดี
แล้วเขาไม่ทำหรือไม่เชื่อ ซึ่งหากเป็นดังนี้ เราควรสำรวจตนเองดู
ว่า...เรามีคุณสมบัติของการเป็นกัลยาณมิตรน้อยเพียงใด ดังที่
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงให้หลักไว้นี้..
๑) ปัญญา คือ มาตว่าเราเป็นคนมีกิเลสน้อยหรือไม่ เพราะถ้าเรา
เป็นคนมีกิเลสน้อยใครเห็นใครก็รัก ดูแล้วชวนให้เขานับถือ น่าเข้าใกล้
เราก็จะทำหน้าที่กัลยาณมิตรให้คนอื่นได้ไม่ยาก
๒) ครู คือ เราเป็นคนคำน่ารักหรือไม่ ซึ่งการทำตัวให้น่าเคารพ
คือ เราต้องเป็นคนมีความประพฤติดี ให้คนเข้าใจอยู่ใกล้เราไม่
รู้สึกว่าเป็นคนตาย แต่กลับรู้สึกอุ่นปลอดภัย พึ่งได้ เชื่อถือได้
๓) ภาวนีย คือ เราเป็นคนสำเร็จบรรลุหรือไม่ ซึ่งการที่จะเจาะ
สรรเสริญเราได้ ก็ต้องเมื่อเราต้องเป็นผู้มีจิตวิธรรรม ดั้งนั้นต้องมั่น
ศึกษาธรรมะและหาความรู้ความชำนาญทั้งทางโลกและทางธรรม
๔) วัตถุ คือ เป็นคนฉลาดพูด ฉลาดในการแนะนำสั่ง ฉลาด
ในการเตือนสติ ฉลาดในการให้กำลังใจ ฉลาดในการชักชวนโน่นนว
ให้แก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ โดยผู้ที่พึ่งคำพูดจากเราไม่รู้สิโรก
แตกบ่อยากทำความดีที่ยิ่ง ๆ ขึ้นไป
๕) จตุภูมิ คือ เป็นคนอดทนอดทนค่ะ ไม่ว่าใครจะพูดไม่ดี
แค่ไหน ก็สามารถสงบนิ่ง เยือกเย็น ไม่นิรโทษได้
๖) คุรุภิบาล คือ สามารถอธิบายธรรมได้สิ่งจง
ผู้ฟังสามารถปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้องทั้งในด้านปริ่มและปฏิบัติ
ธรรมให้มาก ๆ
๗) ในจุดานโยบาย คือ ไม่นำหนทางที่มีดี หรือแนะนำ
เขาให้ดำเนินชีวิตด้วยความประมาท หากเราฝึกฝนบุญตนเองคุณสมบัติครบทั้ง ๗ ข้อได้ เรายัง
จะประสบความสำเร็จในการชวนคนมาทำความดีได้อย่างง่าย ๆ และ
ในที่สุดแล้ว เราจะเห็นว่า..การทำหน้าที่กัลยาณมิตรนั้น คนที่ได้
ประโยชน์อย่างสูงสุดก็คือตัวเราเอง เพราะเราจะได้ฝึกฝนบ่มตัวเอง
ให้มีคุณธรรมทั้ง ๗ ประการเกิดขึ้นนั่นตัวเราด้วย.