ความรู้ประมาณ: รากฐานความมั่นคงของพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2555 หน้า 76
หน้าที่ 76 / 124

สรุปเนื้อหา

ในตอนนี้วิเคราะห์การสร้างครูในประวัติศาสตร์ช่วงพุทธกาล โดยมีการรายละเอียดการเดินทางของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในการเผยแผ่พระศาสนา และการตั้งศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา เช่น วัดพระเชตวันและวัดบุพพาราม นอกจากนี้ยังพูดถึงการเพิ่มขึ้นของพระธรรมคำสอนและจำนวนพระภิษุในช่วงเวลานั้น โดยวัดเวฬุวันได้มีบทบาทสำคัญในช่วงต้นพุทธกาลสัมผัสกับการวิวัฒนาการของศาสนา

หัวข้อประเด็น

-รากฐานความมั่นคงของพระพุทธศาสนา
-การสร้างครูในพุทธกาล
-สถานการณ์พระพุทธศาสนาในช่วงแรก
-วัดพระเชตวันและวัดบุพพาราม
-การเพิ่มขึ้นของพระธรรมคำสอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระธรรมเทคนา พระธรรมเทคนา ตอนที่ 6 ความรู้ประมาณ รากฐานความมั่นคงของพระพุทธศาสนา ความรู้ประมาณ รากฐานความมั่นคงของพระพุทธศาสนา 2. การสร้างครูในบุคลกลางพุทธกาลถึงสุดปลายพุทธกาล 2.๑ สถานการณ์พระพุทธศาสนาในตอนครึ่งเรื่อง ในช่วง ๒๐ พรรษาแรกของการเผยแผ่พระพุทธศาสนานั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงนำเหล่าพระอรหันต์เดินทางไปประกาศพระศาสนาชนทั่วทุกเว้นแคว้น โดยไม่ประทับจำพรรษา ณ ที่ใดที่หนึ่ง จนจบพระชาติที่ ๒ เมื่อถึงดูกุมพระเจ้า พุทธองค์เสด็จไปประทับจำพรรษาอยู่เมืองสาวัตถี ณ สถานที่ ๒ แห่ง แห่งแรก ได้แก่ วัดพระเชตวัลของอนาถบิณฑกเศรษฐ์ ทรงจำพรรษาอยู่ที่นี่พร้อมด้วยมุขพินิจสุขเป็นเวลา ๑๙ พรรษาแห่งที่สอง ได้แก่ วัดบุพพารามของนางจิลา ทรงจำพรรษาอยู่ที่นี่พร้อมด้วยมุขพรวิรุฬสงฆ์เป็นเวลา ๑๙ พรรษา ในช่วงออกพรรษา พระองค์ก็ทรงมุ่งพระภิกษุสงฆ์ก็เสด็จออกจากกรุงสาวัตถีเพื่อจาริกไปยังแว่นแคว้นต่าง ๆ เพื่อประกาศพระศาสนาให้แพร่หลายและมั่นคงยิ่ง ๆ ขึ้นไป จนบจบช่วงเวลาผ่านไป ๑๘ เดือน ก็จะเสด็จกลับมาจำพรรษาที่จุฬาวัดถีอีก ๑ เดือน ส่งผลให้พระเชตวันและวัดบุพพาราม ณ กรุงเทพฯกลายเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในช่วง ๒๕ ปี สุดท้ายของยุคพุทธกาล ส่วนวัดเวฬุวัน ณ กรุงเทพฯคู่แท้งม ค เป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในยุคต้นยุคพุทธกาล 2.๒ นางศิลค์ฤๅษี ดังได้กล่าวแล้วว่าในช่วงต้นพุทธกาลนั้น พระธรรมคำสอนของพระพุทธองค์มีอยู่ไม่มากนัก ครับเวลาผ่านไป พระธรรมคำสอนก็เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ พร้อมกับจำนวนพระภิษุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More