ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลวงพ่อตอบปัญหา
โดย : พระถาวรวีรญ์คุณ
ทำไมเราต้องศึกษาเรื่องกฎแห่งกรรม?
Answer คำตอบ
เรื่องสำคัญข้อหนึ่งที่เราถูกมามีกรรมธรรมชาติของกฎหนึ่งคือกฎแห่งกรรมครองเราไว้ แล้วมีผลต่อชีวิตของเราโดยตรง แมเรจะไม่เห็นคุณ แต่ทำไมต้องดูคุณเลย เป็นคุณของสามคีที่เรามองไม่เห็น และเขาไม่เรียกว่าคุณ เขาเรียกว่า นรก บางที่ก็ใช่บ่ สัตว์ทั้งหลายที่เราเห็น เช่น หมู หมา กา ไก่ ซึ่งที่จริงคืออดีต แต่ว่ารูปร่างต้องเปลี่ยนไปตามแรงกรรมที่เป็นบั้นมันซิ้น มันเป็นคุณที่ล่มเข้าไปติดในดินอนี้เป็นนั่งเดียวกันตัววมันเลย
แต่ที่สุดโลกที่เราอยู่จริง ๆ ก็คือคุณ ลองหาทางออกไปสิ ออกไมได้ ขนาดนี้ยานอวกาศจะไปดวงจินทร์ ดวงดาวอะไรมีอะไรบ่ เสร็จและก็กลับมาดูคุณตามเดิม แล้วก็ยึดในคุณก็และพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเห็นว่า โลกเป็นคุณอย่างนี้มีอยู่เยอะ มื่อนันด (infinity) คือนับไม่ไหว ใช้คำอ้างอันวัตเจ้าเดียว และการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในคุณอย่างนี้ ก็เกิดขึ้นเป็นเวลานานจนมันเวลาไม่ไหว
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงปรารถนา การเวียนว่ายตายเกิดนี้ ไม่ว่าจะเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในโลกนี้ก็ตาม โลกอื่น ๆ จักรวาลอื่น ๆ ก็ฅำ มันไม่มีเบื้องต้น ไม่มีมาบกลาง ไม่มีเบื้องปลาย คือไม่เริ่มขึ้นเมื่อไร ซี่งกุแห่งกรรมก็มีขึ้นพร้อม ๆ กับการเวียนว่ายตายเกิดในสงสารวัฏนี้
ในขณะที่มีกรรมแห่งครอบเราอยู่ เราจะทำอย่างไรกับตัวของเราที่พอจะช่วยให้เราเป็นทุกข์นิองลง นี่คือเหตุผลงามๆทำไมจึงต้องมาทำความเข้าใจคำว่า “กรรม” ให้ดี
กรณีศึกษา (case study) ที่พระเดชพระคุณท่านใหญ่กล่าวไว้ฟังพูดกัน ก็เป็นการนำเรื่องราวเกี่ยวกับกฎแห่งกรรมมาให้เราฟังในเมไมม่าง ๆ เพื่อเป็นคิดเตือนใจให้ระวังให้ดีเพื่อจะได้ไม่ทำผิดอะไรบ้าง ประเด็นอุทิศดังนี้
คำว่า กรรม แปลว่า การกระทำ มีความหมายรวม ๆ อยู่ ๓ ประการ คือ
๑. การกระทำที่เต็มนาหรือเต็มใจ ถ้าไม่เต็มใจไม่เป็นกรรม เช่น คนที่นอนละเมอ อาจจะด่าใครก็ไม่เป็นกรรม คนใดไปมาเพราะความเจ็บปวด แล้วมาแทงไปฟาดใครเข้า ไม่เป็นกรรมเพราะว่าไม่เต็มเจตนา
๒. การกระท่านั้นเป็นการกระทำของคนยังไม่หมดกลส พระอรหันต์ท่านหลายท่านหมดกลส ท่านหมดกรรม การกระทำอยู่เหนืองอแง่งกรรมไปเรื่อยรอ
๓. การกระท่านยังติดตามให้ผล ไม่ว่าจะงามหรือขั่ว มันยังตามให้ผลอยู่