ข้อความต้นฉบับในหน้า
การอุทิศบุญดูเป็นคนมีความรู้ แล้วมีจิตเมตตาต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยหวังให้เขาได้มีความรู้ความสามารถด้วย แต่ถ้าไม่ได้อุทิศบุญดูก็อุทิศไม่ถูกวิธี บุญก็ไม่ถึงหมู่อบัติ การให้ส่วนบุญนั้น สามารถให้ได้ทั้งแก่คนเป็นและคนตาย การให้ส่วนบุญแก่ผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่ จะได้ต่อหน้าก็ได้ ให้ส่วนก็ได้ เช่น เราไปนาบวชม่า เมื่อพอแม่หรือญาติสิบ คนก็ว่า “เอาบุญมา ฝากนะครับ/ค่ะ วันนี้ไปรวมนาบวชม่า เพื่อนบู ขอให้คุณพ่ออุทิศบุญส่วนในบุญด้วยครับ/ค่ะ” ผู้รับอุทิศนบวชม่า จะพอให้ได้บุญเนื่องกันหรือได้น้อยก็ได้ และผู้ให้ก็จะย่อมได้รับบุญแล้ว ถ้าเขาอุทิศบุญา เขาก็ได้รับบุญจากบุตรนบวชม่า การให้ลับหลัง เช่น ทำบุญแล้วก็ถึงชื่อบุคคลที่เราต้องการให้เขาได้บุญด้วย ซึ่งบางท่านอยู่ห่างไกล ติดต่อกันไม่ได้ หรือรู้ว่าเขาไม่ศรัทธา ยังไม่พร้อมจะอุทิศบุญา แต่เงินที่เรานำมาทำบุญ
เป็นทรัพย์ที่มาด้วยกัน จึงมีใจริสุทธิ์อยากให้เขาได้บุญด้วย เอาไว้วันใดที่เขาอนุโมทนา เขาก็จะได้บุญนั้น ๆ ด้วย การอุทิศส่วนบุญความภูมิใจผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ไม่ว่าจะเขาตายไปแล้วนานเท่าใด จะอุทิศเป็นภาษาไทย ภาษาบาลี หรือภาษาอื่นใดก็ได้ มีน้ำรวดเร็วไม่มึนงงก็ย่อมสำเร็จทั้งสิ้น เพราะการอุทิศบุญต้องเกิดจากการให้ด้วยใจเป็นหลัก ส่วนการอานนไม่เป็นเรื่องของพิธีกรรม เป็นสัญลักษณ์ให้รู้ว่า เรากำลังอุทิศบุญบุคคล โดยหลักให้ทำใจ ๆ นึกถึงชื่อหรือรูปหน้าของหมู่บุคคลหรือบุคคลที่เราต้องการแผ่ส่วนบุญชนิดนี้ เพราะเฉพาะเจาะจงให้ แต่จะอุทิศส่วนบุญโดยรวม ๆ ก็ได้ว่า... อิท เม มาตติ โทต สุภา โหนตุ ญาดโโย ของบุญนี้สำเร็จแก่บุญทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอตั้งนมัสการประสบความสุขด้วยเทิด...