วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2558 หน้า 112
หน้าที่ 112 / 128

สรุปเนื้อหา

สมาธิคือความสงบที่สามารถสร้างได้ด้วยตนเอง การฝึกเพื่อให้เกิดความสุขสามารถทำได้โดยการกราบบูชา ศีล 5 หรือ 8 นั่งทำสมาธิ นึกถึงความดี และการนึกดวงแก้วกลมใส รวมถึงการวางอารมณ์เพื่อเข้าสู่ศูนย์กลางกาย ที่ช่วยให้เรามีความสงบเย็นในใจและนำไปสู่การดำเนินชีวิตที่มีความสุขและประสบความสำเร็จ.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสมาธิ
-ขั้นตอนการฝึกสมาธิเบื้องต้น
-ประโยชน์ของการฝึกสมาธิ
-การนั่งสมาธิในท่าที่ถูกต้อง
-การใช้ท่านิมิตในการฝึกสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอยู่เสมอ ซึ่งสามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เติมไปด้วยสีสมงปัญญาและปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ดังวิธีปฏิบัติพระเดช-พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษเจริญ เมตตาสอนไว้ดังนี้ 1. กรวบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวชั้นให้มั่นคงไว้เป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพื่อความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง 2. คุยเขา หรือ นั่งพับเพียบสงบ ๆ ระลึกถึงความดี ที่ได้กระทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนร่างกายทั้งหมดประกอบขึ้นด้วยอุดมแห่งคุณงามความดี ล้วน ๆ 3. นั่งขัดสมาธิ ขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นี่ขถือของมือขวาจรดนิ้วหัวแม่มือข้างซ้าย นั่งให้อยู่ในท่าที่พอดี ไม่ฝืนร่างกายจนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง แต่ให้นั่งหลังตรงงอ หลับตามองสบาย ๆ ลึกๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับภาวนา 4. นึกท่านนิมิตเป็น "ดวงแก้วกลมใส" ขนาดเท่าแก้วตา ใสบริสุทธิ์ ปราศจากรอยตำหนิ ใครใส เย็นตาเย็นใจ คับยคายของดวงตา ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริวารนิมิตนักสบาย ๆ นักเหมือนดวงแก้วนั้นมานั่งสนิทอยู่ที่ ศูนย์กลางกายกัน ๑ นักไปวามโดยปกติ ค่อย ๆ น้อมดวงแก้วกลมใสให้ค่อย ๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับภาวนา 5. เมื่อมดเกาะดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้จางอารมณ์สบาย ๆ นิ่มนวลดังกล่อมไล่ให้ค่อย ๆ เคลื่อนไปสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับภาวนา อื่น ๆ เมื่อมดดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์สบาย ๆ นิ่มนวลดังกล่อมให้ค่อย ๆ เคลื่อนไปสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับภาวนา อันเมื่อมดดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์สบาย ๆ นิ่มนวลดังกล่อมให้ค่อย ๆ เคลื่อนไปสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับภาวนา นึกท่านนิมิตเป็น "ดวงแก้วกลมใส" ขนาดเท่าแก้วตา ใสบริสุทธิ์ ปราศจากรอยตำหนิ ใครใส เย็นตาเย็นใจ คับยคายของดวงตา ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริวารนิมิต นักสบาย ๆ นักเหมือนดวงแก้วนั้นมานั่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายกัน ๑ นักไปวามโดยปกติ ค่อย ๆ น้อมดวงแก้วกลมใสให้ค่อย ๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับภาวนา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More