การฝึกสมาธิและการเข้าถึงพระธรรมกาย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2558 หน้า 113
หน้าที่ 113 / 128

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการฝึกสมาธิเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย โดยแนะนำเทคนิคต่าง ๆ ที่จะช่วยให้จิตใจมีความสงบและเข้าใจในความจริงของชีวิต การฝึกสมาธิควรทำอย่างต่อเนื่อง และควรระมัดระวังในการปฏิบัติ เช่น ไม่ใช้กำลังมากเกินไป และไม่กังวลเรื่องการเห็นนิมิต ควรตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกาย ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใด ๆ ผลจากการฝึกสมาธิจะนำไปสู่ความสุขและความเจริญในชีวิต หากยืนหยัดในความดีและมีการแนะนำต่อ ๆ กัน จะเกิดสันติสุขในโลกนี้

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสมาธิ
-การเข้าถึงพระธรรมกาย
-เทคนิคการทำสมาธิ
-ความสุขในชีวิต
-การเจริญภาวนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดวงเล็ก ๆ ดวงกล่านั้นไปเรื่อย ๆ ใจจะปรับจูนหยุดได้ถูกส่วนเกิดการศูนย์และเกิดดวงสว่างซึ่งมาแทนที่ ดวงธรรม หรือ ดวงปรุมมรรค อัญเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเปิดไปสู่หนทางแห่งมรรค ผล นิจพน การระลึกถึงถิ่นสามารถทำได้ในทุกแห่ง ทุกที่ ทุกอริยาบถ ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน หรือภะทำกิจใด ๆ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้มันเสมอเป็นประจำ ทำเรื่อย ๆ ทำอย่างสบาย ๆ ไม่รี่ง ข้อควรระวัง 1. อย่าให้กำลัง คือไม่ใช้กำลังใด ๆ ทั้งสิ้น เช่น ไม่มีบากเนื้อเพื่อให้เห็นนิวัตติ่ว ไม่กรีดแขน หรือกล้ามเนื้อท้อง ไม่กรีดตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังส่วนไหนของร่างกายก็ตาม จะทำให้ดีเลื่อนจากศูนย์กลางกายเข้าไปสู่จุดนั้น 2. อย่าอยากเห็น คือทำให้เป็นกลางประกอบจิตให้ผลจากบริการในภาวนาและบริการมิด ส่วนนึกนิ่งเมื่อใดนั้น อย่ากังวล ถ้าถึงเวลาแล้วอย่ามีเอง การบิดของดวงนิมิตนี้อุปมาเสมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจเร่งเวลาได้ 3. อย่ากังวลจัดการกำหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการฝึกสมาธิให้เข้าให้ถึงพระธรรมกายภายใน อาศัยการนิ่ง อาณิฏิฆ่าน คือ กลิ่นแสงสว่างเป็นบาทเบื้องต้น เมื่อฝึกสมาธิจนเข้าถึงดวงปฐมมรรคแล้ว ฝึกสมาธิอย่างไปผ่านกายนมนุษย์ละเอียด กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จนกระทั่งเข้าถึงพระธรรมกายแล้วจึงเจริญปัสสนาในภายหลัง ดังนี้จึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดลมหายใจเข้าออกแต่ประการใด 4. เมื่อหลีกจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายเดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใด ก็ยืนดี เดินดี นอนดี หรือดีอย่างอื่นที่ร่างกายไปทำอัตโนมัติ ให้ตั้งใจบริการทวนกุญแจจนถึงบริกรรมเต็มเป็นดวงแก้วใสคงคุณตลอดไป 5. นิมิตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จะต้องน้อมไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้ามึดก็ดันแล้ว หายไปก็ไม่ต้องตามหา ให้ความคงใจไปตามปกติ ในที่สุดก็จะสงบนิ่ง นิมิตย่อมปรากฏขึ้นใหม่อีก การฝึกสมาธิ exigir ต้นเท่าที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้ครบสมควร เมื่อชำชองปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ ๆ ไม่ตกท้องถิ่นดวงปฐมมรรคแล้ว ก็ให้มหันต์ประคองรักษาดวงปรุมมรรคันไว้ตลอดชีวิต ดำรงอยู่ในศีลธรรมอันดี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า ได้ฟังของชีวิตที่ถูกต้องดังงาม ที่จะส่งผลให้เป็นผู้มีความสุขความเจริญ ทั้งในพาชาติและพลชาติในชาติหน้า หากสามารถแนะนำต่อ ๆ กันไป ขยายไปยังเหล่ามนุษย์ชาติ อย่างไม่จำกัดเข็อคขัด คาถาและเผ่าพันธุ์ สันติสุขในโลกใบนี้ที่คนฝัน ยอมนำบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More