พระไตรปิฎกและการเผยแพร่ทั่วโลก วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2558 หน้า 69
หน้าที่ 69 / 128

สรุปเนื้อหา

พระไตรปิฎกถูกพระราชทานแก่สถาบันการศึกษามากกว่า 260 สถาบันใน 30 ประเทศ สะท้อนถึงเอกภาพของประเทศไทยภายใต้การปกครองดัวยพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จุลจอมเกล้าฯ ได้มีการรับรองผ่านการจัดทำพระไตรปิฎกที่มีตราแผ่นดิน และการปริวรรตข้อความให้เป็นอักษรโรมัน เพื่อให้ประเทศอื่นๆ ได้รับรู้ถึงความสุขุมของประเทศไทย และการอุทิศตนเพื่อการศึกษาของประชาชนผ่านธรรมะที่อยู่ในพระพุทธวจนะ พระบรมราชดำรัสได้เน้นย้ำถึงความสำคัญในการเผยแพร่พระไตรปิฎกในหอสมุดต่างๆ ทั่วโลกเพื่ออำนวยความรู้และศีลธรรมอันสูงส่งที่เชื่อมโยงกับประชาธิปไตยในประเทศไทย

หัวข้อประเด็น

-การเผยแพร่พระไตรปิฎก
-พระราชดำรัสและความสำคัญ
-การศึกษาและความรู้ในไทย
-อิทธิพลของพระมหากษัตริย์
-ความเป็นเอกภาพของประเทศไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สำหรับพระไตรปิฎกอีกส่วน โปรดเกล้าฯ ให้พระราชทานแก สถาบันการศึกษามากว่า ๒๖๐ สถาบันใน ๓๐ ประเทศทั่วโลก ทั้งยุโรป ออสเตรเลีย อเมริกา และเอเชีย พระไตรปิฎกทุกเล่มมีตราแผ่นดินประทับบนหน้า ภายในเล่มมีพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในรัชกาลเฉลิมฉลองครองราชย์ครบ ๒๕ ปี และหน้าแสดงการปริวรรตอักษรยามเป็นอักษรโรมัน เป็นการประกาศให้โลกว่าประเทศไทย เป็นดินแดนที่มีเอกภาพ โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขปกครองแผ่นดินมาเป็นเวลายาวนาน และเป็นดินแดนที่อานาประชาธิปไตยอธิปไตยและความรู้ด้านเทคโนโลยีความรู้ไปกับศีลธรรม อันไพจน์แห่งบวรพระพุทธศานา สมเด็จพระราชดำรัสที่พระองค์ทรงให้ไว้ ณ วัดพระศรีรัตน- คาทาดามา เมื่อวันที่ ๑ มกราคม ร.ศ. ๑๑๙ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ว่า "...เมื่ออำพาใจไปยังประเทศใด ซึ่งได้รับพระไตรปิฎกฉบับพิมพ์นั้น รักษาไว้ในหอสมุดใหญ่ต่าง ๆ ย่อมมากกว่าสรรเสริญ การที่เราได้ทำ และได้ตำแหน่งไว้ในที่อัน งามมั่นคงแห่งทุกแห่ง มั่นปราชญ์ทั้งหลายได้อุตสาหะเรียนซ้ำพระพุทธวจนะจะนะมาก ก็ติดพึงความสรเสริญธรรมของพระพุทธเจ้า ย่อมปรากฏขึ้นในประเทศไทยใกล้ทั้งหลายมากขึ้นโดยลำดับ..."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More