ศาสนกิจและการแพร่หลายของพระพุทธศาสนาในเมืองอมรราว วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2558 หน้า 58
หน้าที่ 58 / 124

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอเกี่ยวกับสถานที่ประกอบศาสนกิจและการแพร่ขยายของพระพุทธศาสนาในเมืองอมรราว ซึ่งเป็นเมืองหลวงของราชวงศ์ สอวาทนะระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๕–๘ โดยเน้นที่จิตรกรรมฝาผนังที่มีเรื่องราวในพุทธประวัติ นอกจากนี้ยังมีการแสดงถึงความสำคัญของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า เช่น ดอกบัว ธรรมจักร และประวัติการเดินทางของพระภิกษุเสลี้อนจี๋ใน พ.ศ. ๑๐๘ ที่ได้บันทึกถึงความงดงามของสถาปัตยกรรมพุทธศาสนาในภูมิภาคนี้ไว้

หัวข้อประเด็น

-ศาสนกิจในเมืองอมรราว
-ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
-การแพร่ขยายพระพุทธศาสนา
-สัญลักษณ์ในพระพุทธศาสนา
-อิทธิพลของราชวงศ์ สอวาทนะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

และสถานที่ประกอบศาสนกิจต่าง ๆ ประดับด้วย ภาพจิตรกรรมฝาผนัง เล่าเรื่องราวในพุทธประวัติ ทางด้านล่างด้านตะวันออกขององค์เดียวกัน แผนกลุ่มแม่ค้านำน้ำกฤษณะและแม่ น้ำโคทวาริ พระพุทธศาสนาได้ประดิษฐานอย่างมั่นคง ในเมืองอมรราว ๒ ซึ่งเป็นเมืองหลวงของราชวงศ์ สอวาทนะ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๕–๘ เมือง องค์อาบังเป็นศูนย์กลางการเผยแพร่พระพุทธศาสนาที่สำคัญแห่งหนึ่งในอานนี้ หลักฐานทางโบราณคดี ที่เหลืออยู่ให้เห็นว่า ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๕–๖ ภาพสิ่งที่แสดงถึงพระพุทธเจ้ามักแสดง ด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ไม่ใช่พระพุทธรูป เช่น ดอกบัว ธรรมจักร สัจจ์ ต้นโพธิ์ หรือบัลลังก์ หลังจากนั้นระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๗–๘ จึง เริ่มนิยมแสดงถึงพระพุทธเจ้าด้วยพระพุทธรูป พระภิกษุเสลี้อนจี๋ หรือพระถังซัมจั๊ง ได้เดินทางมาถึงเมืองอารวดีใน พ.ศ. ๑๐๘ และได้พักศึกษาพระอภิธรรมและบันทึกถึงความงดงามของสถาปัตยกรรมพุทธศาสนา ของดินแดนดังกล่าวเอาไว้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More